Page 97 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 97

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม  2565      Vol. 20  No. 2  May-August  2022




                                                                                 นิพนธ์ต้นฉบับ



            รูปแบบการสั่งใช้ ความปลอดภัย และผลต่อคุณภาพชีวิต

            ของตำารับยาศุขไสยาศน์


            อาภากร บุญธรรม , ปรีชา หนูทิม , ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล ‡,§,¶
                           *,†
                                         †
            *  หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมชุมชม) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตำาบลท่าโพธิ์ อำาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
            †  โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แขวงคลองมหานาค
              เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
            ‡ ศูนย์วิจัยการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพและการแพทย์ (CM-HTA) ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
              ตำาบลสุเทพ อำาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
            § ศูนย์วิจัยผลลัพธ์ทางเภสัชกรรม ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตำาบลท่าโพธิ์ อำาเภอเมือง
              จังหวัดพิษณุโลก 65000
             ผู้รับผิดชอบบทความ:  piyamethd@nu.ac.th
            ¶



                                                 บทคัดย่อ

                    ตำ�รับย�ศุขไสย�ศน์เป็นตำ�รับย�แผนไทยที่มีกัญช�ปรุงผสมในคัมภีร์ธ�ตุพระน�ร�ยณ์ มีใบกัญช�เป็นส่วนประกอบ
               ในตำ�รับร้อยละ 15.38 และมีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับและเจริญอ�ห�ร แม้ว่�ในอดีตมีก�รนำ�กัญช�ม�ใช้เป็นย�รักษ�โรคม�
               อย่�งย�วน�น แต่ด้วยพระร�ชบัญญัติย�เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้กำ�หนดให้กัญช�เป็นย�เสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ก�ร
               ใช้ตำ�รับย�ไทยที่มีกัญช�ในอดีตจึงเป็นสิ่งผิดกฎหม�ย ทำ�ให้ง�นวิจัยและหลักฐ�นเชิงประจักษ์เกี่ยวกับก�รใช้ ประสิทธิศักย์์
               และคว�มปลอดภัยของย�มีจำ�นวนน้อย ก�รศึกษ�นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ�รูปแบบก�รสั่งใช้ย� อ�ก�รไม่พึงประสงค์ และ
               คุณภ�พชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับตำ�รับย�ศุขไสย�ศน์ โดยทำ�ก�รศึกษ�แบบเก็บข้อมูลย้อนหลังแบบ retrospective cohort study
               จ�กเวชระเบียนของผู้ม�รับก�รรักษ�ที่คลินิกกัญช�ท�งก�รแพทย์ โรงพย�บ�ลก�รแพทย์แผนไทยและก�รแพทย์ผสมผส�นใน
               ระหว่�งวันที่ 1 ตุล�คม 2562–31 ธันว�คม 2563 ที่ม�ติดต�มผลก�รรักษ�ทุก 1 เดือนและม�รับบริก�รอย่�งน้อย 2 ครั้ง ผลก�รศึกษ�
               พบว่�  ผู้ป่วยที่แพทย์สั่งใช้ตำ�รับย�ศุขไสย�ศน์ จำ�นวน 138 คน เป็นเพศช�ยร้อยละ 61.59 มีอ�ยุเฉลี่ย 56.81 ± 15.51 ปี มีข้อบ่ง
               ใช้ส่วนใหญ่ คือ อ�ก�รนอนไม่หลับ ร้อยละ 87.68 รองลงม�คือ อ�ก�รปวดศีรษะ ร้อยละ 7.97 และอ�ก�รอื่น ๆ ได้แก่ อ�ก�ร
               เบื่ออ�ห�ร อ�ก�รช� และโรคพ�ร์กินสัน ร้อยละ 4.35 ขน�ดเริ่มต้นที่มีก�รสั่งใช้อยู่ในช่วง 0.5-2.0 กรัมต่อวัน รูปแบบก�รสั่ง
               ใช้เริ่มต้นส่วนใหญ่คือ 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง (ร้อยละ 52.90) ส่วนขน�ดพยุง (maintenance dose) ส่วนใหญ่ที่ผู้ป่วยได้รับ คือ 2
               กรัมต่อวัน (ร้อยละ 44.18) รองลงม�คือ 1 กรัมต่อวัน (ร้อยละ 40.70) มีก�รยุติก�รรักษ�เนื่องจ�กอ�ก�รไม่ดีขึ้น จำ�นวน 15 คน
               (ร้อยละ 10.87) ก�รเกิดเหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์พบ 31 เหตุก�รณ์ในผู้ป่วย 23 ร�ย เหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยที่สุด
               ได้แก่ ระค�ยเคืองท�งเดินอ�ห�ร ร้อยละ 7.97, วิงเวียนหรือปวดศีรษะ ร้อยละ 5.79, ป�กแห้งคอแห้ง ร้อยละ 4.34 เป็นต้น มี
               ผู้ป่วยยุติก�รรักษ�เนื่องจ�กเกิดเหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์จำ�นวน 16 คน (ร้อยละ 11.59) ส่วนข้อมูลด้�นคุณภ�พชีวิตเก็บข้อมูล
               จ�กแบบสอบถ�ม EQ-5D-5L พบว่� ค่�อรรถประโยชน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่�งมีนัยสำ�คัญท�งสถิติ (p < 0.001) โดยค่�เฉลี่ยคะแนน
               อรรถประโยชน์ก่อนเริ่มก�รรักษ� คือ 0.95 ± 0.11 และหลังได้รับก�รรักษ�ในเดือนที่ 3 คือ 0.98 ± 0.05 จึงสรุปได้ว่� ก�รใช้
               ตำ�รับย�ศุขไสย�ศน์ช่วยเพิ่มคุณภ�พชีวิตของผู้ป่วยและมีคว�มปลอดภัย แม้จะพบอ�ก�รไม่พึงประสงค์แต่เป็นเหตุก�รณ์ที่ไม่
               รุนแรง จึงส�ม�รถพิจ�รณ�เป็นก�รรักษ�ที่เป็นท�งเลือกให้กับผู้ป่วยสำ�หรับบรรเท�อ�ก�รนอนไม่หลับได้

                    คำ�สำ�คัญ:  ตำ�รับย�ศุขไสย�ศน์, กัญช�, รูปแบบก�รสั่งใช้ย�, เหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์, คุณภ�พชีวิต


            Received date 28/09/21; Revised date 19/05/22; Accepted date 20/06/22

                                                    295
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102