Page 86 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 86

284 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           วิตามิน และเกลือแร่ต่าง ๆ เป็นต้น และเห็ดมีปริมาณ  กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไบคาร์บอเนต Folin-
           ไขมันค่อนข้างน้อย กลุ่มคนรักสุขภาพจึงนิยมบริโภค  Ciocalteu’s reagent (Merck, Germany) กรด

           เห็ดทดแทนโปรตีนจากเนื้อสัตว์ นอกจากนี้เห็ดยังมี  แอสคอร์บิก (ascorbic acid) (SIGMA-AlDRiCH,
           คุณสมบัติที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอีกมากมาย เช่น   Germany) โทรลอกซ์ (Trolox) (SIGMA-AlDRiCH,
           มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีคุณสมบัติต้านเซลล์  Switzerland) กรดแทนนิก (tannic acid) (SIG-

           มะเร็ง ป้องกันภาวะไขมันในเลือดสูง ลดระดับน�้าตาล  MA-AlDRiCH, China) เควอร์ซิติน (quercetin)
           ในเลือด ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ ภูมิคุ้มกันบ�าบัด และฤทธิ์  (SIGMA-AlDRiCH, India)
           ต้านอนุมูลอิสระ เป็นต้น [7-8]

                ดังนั้นการศึกษาวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ  2. ตัวอย่�งเห็ดระโงกสำ�หรับศึกษ�
           ศึกษาศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระและปริมาณ       ตัวอย่างเห็ดระโงกขาว และเห็ดระโงกเหลือง
           สารประกอบฟีนอลิกรวม เฟลโวนอยด์ และแทนนิน    ชนิดละ 3 กิโลกรัม โดยซื้อจากตลาดในท้องถิ่น

           ของสารสกัดหยาบจากเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงก   ใกล้ป่าชุมชนโคกหินลาด อ�าเภอวาปีปทุม จังหวัด
           เหลืองที่พบในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นเห็ดที่  มหาสารคาม น�าตัวอย่างเห็ดระโงกทั้ง 2 ชนิดมา

           ได้รับความนิยมในการรับประทานและมีราคาแพงกว่า  ท�าการระบุชนิดในห้องปฏิบัติการ และเปรียบเทียบ
           เห็ดชนิดอื่นที่เจริญและจ�าหน่ายในช่วงเวลาเดียวกัน  ลักษณะบรรยายที่ส�าคัญได้จากเอกสารต่าง ๆ [1-2,5,7,9-14]
           เพื่อเป็นตัวแทนเห็ดกลุ่มนี้ที่คนในชุมชนภาคตะวัน  ท�าการระบุชนิดเห็ดที่ถูกต้องโดย รศ.ขวัญเรือน นาค

           ออกเฉียงเหนือนิยมรับประทานแม้ว่าจะราคาจะแพง  สุวรรณ์กุล ภัณฑารักษ์ประจ�าพิพิธภัณฑ์เห็ดที่มีฤทธิ์
           กว่าเห็ดชนิดอื่น และยังเป็นข้อมูลด้านโภชนาการเบื้อง  ทางยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

           ต้นที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้นิยมบริโภคเห็ดป่าทั่วไป  น�าตัวอย่างเห็ดทั้งสองชนิดล้างให้สะอาด หั่นเป็นชิ้น
                                                       ขนาด 0.2-0.5 เซนติเมตร และน�าไปอบให้แห้งในตู้อบ
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                ด้วยอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง


           1. อุปกรณ์และส�รเคมีสำ�หรับศึกษ�            3. นำ�ตัวอย่�งเห็ดระโงกไปสกัดด้วยตัวทำ�
                                                          ละล�ย
                เครื่องชั่ง 4 ต�าแหน่ง ตู้อบลมร้อน หม้อนึ่งความ

           ดันไอ เครื่องระเหยสารแบบหมุน เครื่องท�าแห้งแบบ     การสกัดแบบแช่สกัด (maceration) โดยน�าเห็ด
           แช่เยือกแข็ง เครื่อง UV-vis Spectrophotometer   ชิ้นเล็กที่อบแห้งเรียบร้อยแล้วมาชั่งชนิดละ 10 กรัม
           เครื่อง Microplate Reader เอทานอลร้อยละ 95    ใส่ในขวดแก้วและเติมตัวท�าละลายเอทานอลร้อยละ

           เมทานอล น�้ากลั่น ABTS (2, 2-azinobis (3-ethyl-  95 ปริมาตร 300 มิลลิลิตร และอีกขวดใส่ตัวท�าละลาย
           benzothiazoline-6-sulfonic acid) (SIGMA-    เมทานอลปริมาตร 300 มิลลิลิตร ปิดฝาให้สนิทและ

           AlDRiCH, China) โซเดียมเปอร์ซัลเฟต อะซิเตตบัฟ-   ตั้งทิ้งไว้ ที่อุณหภูมิห้อง 24 ชั่วโมง จากนั้นกรองเก็บ
           เฟอร์ เฟอริกคลอไรด์ TPTZ (2,4,6-Tris(2-pyridyl)-  สารละลายด้วยกระดาษกรอง whatman เบอร์ 1
           s-triazine) (SIGMA-AlDRiCH, Switzerland)    กากที่เหลือเติมตัวท�าละลายและท�าซ�้าเหมือนเดิมอีก
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91