Page 85 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 85

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  283





               The Evaluation of Potentials of Antioxidant Activities, Total Phenolic,
               Flavonoid, and Tannin Contents from Selected Species in Amanita Crude
               Extract


               Kritsada Champatasi, Nucharee Chamnantap, Areerat Saisong, Khwanyuruan Naksuwankul *

               Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Mahasarakham 44150, Thailand
               *Corresponding Author:  khwanruan.p@msu.ac.th
                                                 Abstract

                    The objective of this study was to evaluate the potential of two common edible species of Amanita,
               A. princeps Corner & Bas. and A. javanica Corner & Bas. T. Oda, Tanaka & Tsuda, which are local mushrooms of
               high commercial value. The antioxidant activities were determined by ABTS and FRAP assays, and the amounts
               of polyphenols (total phenolic, flavonoid compounds, and tannin) were examined in ethanol, methanol, and boiling
               water crude extracts of the mushrooms. The results showed that the highest percentage yields of 28.97% of total
               phenolic and flavonoid compounds were found in A. princeps crude ethanolic extract at 18.41 ± 0.13 mg GAE/g
               extract using a gallic acid standard and 1017.99 ± 8.18 mg QE/g extract with a quercetin standard, while A. prin-
               ceps crude extract with boiling water had the highest tannin level at 13.53 ± 0.45 mg tannic acid/g extract using a
               tannic acid standard. Regarding antioxidant activity testing, the two assays showed the highest values with boiling
               water extract of A. javanica in the ABTS assay, IC 50 as 0.75 ± 0.04 mg/mL, while the FRAP assay of ethanolic A.
               princeps extract recorded 3650.67 ± 35.77 mg FeSO 4/g extract.
                    Key words:  antioxidant activity, total phenolic, flavonoid, tannin, Amanita







                     บทนำ�และวัตถุประสงค์               ชนิดมีพิษท�าให้เกิดการเจ็บป่วยกับผู้น�ามาบริโภคได้

                 เห็ดระโงกเป็นเห็ดที่อยู่ในสกุล Amanita วงศ์   เช่น เห็ดระงากขาวพิษ (Amanita exitialis Zhu L.
            Amanitaceae และเห็ดกลุ่มนี้ส่วนใหญ่พบเป็นเห็ด  Yang & T.H. Li) เห็ดระงากด�าพิษ (Amanita brun-
            ที่รับประทานได้และรู้จักกันทั่วไป เช่น เห็ดระโงก  neitoxicaria Thongbia, Raspe & K.D. Hyde) ซึ่ง

            เหลือง (Amanita javanica (Corner & Bas.) T.   เห็ดพิษเหล่านี้พบเจริญปะปนกับเห็ดรับประทานได้ใน
            Oda, Tanaka & Tsuda) เห็ดระโงกขาว (Amanita   ช่วงฤดูฝนเช่นกัน ดังนั้น ผู้บริโภคเห็ดป่าหรือผู้มีอาชีพ
            princeps Corner & Bas.) เป็นต้น มีความส�าคัญต่อ  เก็บเห็ดป่ามาจ�าหน่ายจ�าเป็นต้องรู้จักหรือมีความรู้ใน

            วิถีชีวิตของคนในชุมชนโดยเฉพาะในภาคตะวันออก  การจ�าแนกชนิดของเห็ดด้วย เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย
            เฉียงเหนือ เห็ดรับประทานได้พบในป่าชุมชนหรือป่า  จากการได้รับสารพิษจากเห็ด [2,5-6]  อย่างไรก็ตาม จาก

            โคกในฤดูฝนและได้รับความนิยมในการบริโภคเห็ด  รสชาติของเห็ดระโงกที่มีความอร่อยแล้วเห็ดยังเป็น
            ป่ามากขึ้นท�าให้สามารถสร้างรายได้ในชุมชนได้อีก  แหล่งอาหารที่อุดมไปด้วยสารอาหารที่ส�าคัญหลาย
            ทางหนึ่ง  แต่ในจ�านวนเห็ดในสกุล Amanita บาง  ชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน เส้นใย
                   [1-4]
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90