Page 143 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 143
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 123
คือ ผักกูด และผักแว่น หรือ ถ้าแบ่งตามนิเวศวิทยา น�้าได้ไม่เกิน 1 ฤดูกาล และสุดท้ายคือกลุ่มพืชชายน�้า
พบ 3 กลุ่ม กลุ่มแรกคือ พืชลอยน�้า 3 ชนิด ซึ่งเป็นพืช 6 ชนิด พืชชายน�้าสามารถเจริญอยู่ในแหล่งน�้าที่ไม่มี
น�้าที่แท้จริง จะต้องด�ารงชีวิตในน�้า ไม่สามารถเจริญ น�้าได้ระยะเวลานานคล้ายพืชบกแต่เมื่อน�้าท่วมถึงก็
เติบโตได้ถ้าไม่มีน�้าเป็นแหล่งอาศัย กลุ่มที่ 2 คือพืช จะเจริญลงในแหล่งน�้าและมีลักษณะวิสัยคล้ายพืช
โผล่เหนือน�้า 3 ชนิด พืชกลุ่มนี้ มีความใกล้เคียงพืช ลอยน�้า การศึกษาครั้งนี้ไม่มีกลุ่มพืชใต้น�้า (ภาพที่ 1
ชายน�้า แต่การเจริญต้องมีน�้าท่วมขัง จะทนการขาด และ ตารางที่ 2)
ภาพที่ 1 ภาพส่วนของพืชน�้าที่ใช้ในการศึกษา เรียงตามฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจากมีฤทธิ์มากไปน้อย (1) แพงพวยน�้า
(2) ก้านจอง (3) บัวหลวง (4) ผักบุ้ง (5) ผักกูด (6) บัวสาย (7) แว่นแก้ว (8) กระเฉด (9) โสนอินเดีย
(10) ไข่น�้า (11) ผักตบชวา (12) ผักแว่น (ภาพถ่ายโดย ปราณี นางงาม)