Page 142 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 142

122 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ระยะ เมื่อครบเวลาน�ามากรองด้วยกระดาษกรอง    20 ไมโครลิตร ลงบนกระดาษ โดยใช้สารสกัดพลูเป็น
             Whatman เบอร์ 1 แล้วน�าของเหลวที่ผ่านการกรอง  กลุ่มควบคุมบวก (positive control) และ 1%DMSO
             ไประเหยตัวท�าละลายออกภายใต้สุญญากาศด้วย     เป็นกลุ่มควบคุมลบ (negative control) จากนั้นน�าไป

             เครื่องกลั่นระเหยสารแบบหมุน (rotary evaporator)   บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
             จนได้สารสกัดในรูปสารสกัดหยาบ เก็บในขวดสีชา ที่  บันทึกข้อมูลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณวงใสที่

             มืด อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส                 เกิดขึ้น ท�าการทดลองแต่ละตัวอย่าง 3 ซ�้า
                 2.2. การเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย            2.4. การหาค่าความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถ
                 เชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่ใช้ในการศึกษาได้รับ  ยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (Minimum In-

             ความอนุเคราะห์จาก ผศ.ดร.อักษรากร ค�ามาสุข   hibitory Concentration; MIC) ด้วยวิธี resazurin
             คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ที่ท�าการคัด  micro-broth dilution [25]

             แยกและระบุชนิดของเชื้อด้วยตนเอง ประกอบด้วย      เติมสารสกัดหยาบลงในหลุมของ 96 microwell
             5 สายพันธุ์ คือ 1) Staphylococcus pyogenes,   plates ที่มีเชื้อความขุ่น McFarland standard No.
             2) Streptococcus pneumoniae, 3) Salmonella   0.5 โดยให้ความเข้มข้นของสารสกัดเจือจางลงครั้ง

             typhimurium, 4) Staphylococcus aureus และ 5)   ละ 2 เท่า (2 folds serial dilution) ด้วยอาหาร NA
             Escherichia coli น�ามาเพาะเลี้ยงบนอาหาร nutrient   ตั้งแต่ 10 มก./มล. ลงไปเป็น 5, 2.5, 1.25, 0.625,
             agar (NA) บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา   0.31 และ 0.156 มก./มล. ตามล�าดับ โดยมีกลุ่ม

             24 ชั่วโมง เขี่ยโคโลนีแบคทีเรียแต่ละชนิดใส่ในอาหาร  ควบคุมที่มีแต่สารสกัดไม่มีเชื้อ และกลุ่มควบคุมที่มี
             เหลว NA 5 มิลลิลิตร น�าไปบ่มในตู้บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ   แต่เชื้อไม่มีสารสกัด น�าไมโครเพลทไปบ่มที่อุณหภูมิ
             37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมง แล้วน�าไปศึกษา  37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากครบ

             ฤทธิ์ของสารสกัด                             เวลาท�าการเติม resazurin แล้วน�าไปบ่มที่ อุณหภูมิ
                 2.3. การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของสาร  37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง สังเกตและจด

             สกัดหยาบ ด้วยวิธี agar-disc diffusion [25]  บันทึกการเปลี่ยนสีน�้าเงินเป็นสีชมพู
                 ปรับปริมาณของเชื้อแบคทีเรียให้มีความขุ่น
             เท่ากับ McFarland standard No. 0.5 ใน 0.85% sol-         ผลกำรศึกษำ

             dium chloride (แบคทีเรียมีจ�านวนเซลล์เท่ากับ 1.5
             5 10  CFU/มล.) จากนั้นใช้ไม้พันส�าลีปราศจากเชื้อจุ่ม  1. พืชทดสอบและกำรระบุชื่อวิทยำศำสตร์
                8
             ลงในเชื้อที่เตรียมไว้แต่ละชนิด น�ามาเกลี่ยให้ทั่วบน     ท�าการรวบรวมพืชน�้าจากแหล่งธรรมชาติ เช่น
             ผิวหน้าอาหาร Nutrient agar (NA) หลังจากเชื้อแห้ง   หนอง บึง ในจังหวัดพิษณุโลก ได้จ�านวน 12 ชนิด
             ใช้ที่คีบปลอดเชื้อ คีบแผ่นกระดาษทดสอบปราศจาก  11 วงศ์ ประกอบด้วยพืชดอก ใบเลี้ยงคู่ 7 ชนิด คือ

             เชื้อ เส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร (Advantec) วาง  กระเฉด บัวสาย บัวหลวง ผักบุ้ง แพงพวยน�้า แว่น
             ให้แนบผิวหน้าอาหาร แล้วหยดสารสกัดหยาบความ   แก้ว และ โสนอินเดีย ใบเลี้ยงเดี่ยว 3 ชนิด คือ ก้าน
             เข้มข้น 10 มก./มล. ที่ละลายใน 1%DMSO ปริมาตร   จอง ไข่น�้า และ ผักตบชวา และพืชกลุ่มเฟิร์น 2 ชนิด
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147