Page 146 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 146
126 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
ภาพที่ 2 การตรวจสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรียในเบื้องต้นของสารสกัดน�้าทั้ง 12 ชนิด โดยวิธี agar-disc diffusion โดย
เทียบกับ DMSO เป็นตัวควบคุมลบ และ สารสกัดพลูเป็นตัวควบคุมบวก ตัวอักษรเล็กบนแท่งแสดงความ
แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญที่ p < 0.05 เทียบระหว่างฤทธิ์ของสารสกัดชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อเชื้อแบคทีเรียชนิด
เดียวกัน
4. กำรหำควำมไวของสำรสกัดต่อเชื้อแบคทีเรีย เชื้อแกรมลบ S. typhimurium (5 มก./มล.) และไม่
โดยวิธี resazurin micro-broth dilution สามารถยับยั้ง E. coli ได้ ในขณะที่สารสกัดก้านจองมี
ค่าความเข้มข้นที่ต�่าที่สุดที่สามารถยับยั้งการ ฤทธิ์ต่อเชื้อทั้ง 5 ชนิดใกล้เคียงกัน รวมถึงมีฤทธิ์ยับยั้ง
เจริญของเชื้อ (MIC) ยืนยันผลการตรวจสอบฤทธิ์ใน เชื้อ E. coli (1.25-5 มก./มล.) ซึ่งผลต่อเชื้อ E. coli
เบื้องต้น ส่วนใหญ่ไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีบาง ของทั้งสองสารสกัด ไม่สอดคล้องกับผล agar-disc
ประเด็นที่ไม่สอดคล้องกัน พบว่าสารสกัดแพงพวย diffusion เมื่อเทียบกับสารสกัดพลูซึ่งเป็นตัวควบคุม
น�้าและก้านจองมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อได้ดีที่สุด สามารถ บวกแล้ว สารสกัดพืชน�้าสามารถยับยั้งเชื้อได้แตกต่าง
ยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ กัน กัน ส�าหรับ S. pyogenes และ S. pneumoniae แล้ว
ในขณะที่สารที่เหลืออีก 10 ชนิดไม่สามารถยับยั้งการ แพงพวยน�้ายับยั้งได้ดีที่สุดมากกว่าหรือเทียบเท่าพลู
เจริญของเชื้อได้ ในช่วงความเข้มข้นของสารที่ทดสอบ ส�าหรับ S. typhimurium ไม่มีสารสกัดพืชน�้าใดมี
(0-10 มก./มล.) สารสกัดแพงพวยน�้ามีฤทธิ์ยับยั้ง ฤทธิ์ดีเท่าพลู ส�าหรับ S. aureus สารสกัดก้านจอง
เชื้อแกรมบวก S. pyogenes และ S. pneumoniae มีฤทธิ์เทียบเท่าสารสกัดพลู และส�าหรับ E. coli สาร
(0.625 มก./มล.) S. aureus (2.5 มก./มล.) ได้ดีกว่า สกัดก้านจองมีฤทธิ์ดีกว่าสารสกัดพลู (ภาพที่ 3)