Page 148 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 148
128 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
ฟลาโวนอยด์ กรดฟีโนลิค เทอร์พีนอยด์ และสเตอรอล การปกป้องตนเองจากอันตรายภายนอก ไม่ว่าจะเป็น
พบว่าพืชน�้ามีสารส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม 1) ฟลาโวนอยด์ อันตรายจากสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิต การที่สารเหล่านี้
ได้แก่ quercetin และ rutin (quercetin rutino- มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ท�าให้พืชที่
side) พบได้ในแพงพวยน�้า ก้านจอง บัวหลวง บัวสาย มีสารเหล่านี้ ได้รับความสนใจในการน�าไปใช้ประโยชน์
ผักกูด และผักบุ้ง kaempferol และ nicotiflorin ไม่ว่าจะอยู่ในรูปพืชวัถตุดิบ หรือ สารสกัดที่จะเป็นยา
(kaemferol rutinoside) พบได้ในกระเฉด และผัก ในการรักษา หรือน�าไปท�าเป็นเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
บุ้ง myricetin พบได้ในกระเฉดและบัวสาย 2) สาร ทางด้านสุขภาพ เป็นการเพิ่มมูลค่าและรายได้ให้กับ
ในกลุ่มกรดฟีโนลิค ได้แก่ protocatechuic acid เกษตรกรผู้ปลูก
พบได้ในแพงพวยน�้าและผักกูด hydroxybenzoic
acid และ ferulic acid พบได้ในก้านจอง cinnamic ข้อสรุป
acid พบได้ในผักกูด 3) สารในกลุ่มเทอร์พีนอยด์และ พืชน�้าส่วนใหญ่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อโรคใน
สเตอรอล ได้แก่ ไดเทอร์พีน betulin พบในแพงพวย มนุษย์ที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะแพงพวยน�้าและก้าน
น�้า betulinic acid พบในบัวหลวง โมโนเทอร์พีน จอง (หรือ ตาลปัตรฤาษี) ที่พบว่ามีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย
limonene และ b-pinene พบในแว่นแก้ว สเตอรอล ได้ทั้งแกรมบวกและแกรมลบได้หลายชนิด ท�าให้พืช
phytol, stigmasterol และ b-sitosterol พบใน ไข่น�้า สองชนิดนี้ควรได้รับการส่งเสริมให้มีการปลูกและการ
ผักตบชวา และ ผักแว่น ใช้ประโยชน์ นอกจากจะใช้รับประทานเป็นอาหารได้
พบว่าสารฟลาโวนอยด์ rutin มีฤทธิ์ยับยั้ง แล้วยังสามารถน�ามาใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์
E. coli สาร quercetin มีฤทธิ์ยับยั้ง S. aureus ต้านแบคทีเรียได้อีกด้วย
สาร quercetin rhamnoside มีฤทธิ์ยับยั้ง S.
typhimurium สาร myricitrin (myricetin gly- กิตติกรรมประกำศ
coside) มีฤทธิ์ยับยั้ง S. aureus สาร myricitrin ขอขอบคุณ ผศ.ดร.อักษรากร ค�ามาสุข คณะ
rhamnoside มีฤทธิ์ยับยั้ง E. coli, K. pneu- สหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ส�าหรับเชื้อ
monia และ S. aureus สาร kaempferol มีฤทธิ์ แบคทีเรียที่ใช้ในการศึกษา
ยับยั้ง E. coli สาร nicotiflorin มีฤทธิ์ยับยั้ง S.
aureus สาร isorhamnitin rhamnoside ยับยั้ง
S. pyogenes และสาร hydroxyflavanone ยับยั้ง References
S. pneumoniae เป็นต้น กรดฟีโนลิกที่พบมีรายงาน 1. Wutithumawech W. Pharmacy Ratanakosin. 3rd ed.
ว่ามีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียได้ ได้แก่ coumaric acid, Wutithummawech Thai traditional medicine. 2010. 720
p. (in Thai)
ferulic acid, sinapic acid, hydroxybenzoic 2. Nangngam P. Edible aquatic plants. Phitsanulok: Focus
acid, protocatechuic acid เป็นต้น สารเทอร์พีน printing; 2017. 150 p. (in Thai)
[26]
3. Jani M, Shah S, Prajapati S. Antibacterial screening and
ที่มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรีย ได้แก่ betulinic acid และ
qualitative phytochemical estimation of selected aquatic
betulin สารทุติยภูมิที่พืชสร้างขึ้นเพื่อเป้าหมายใน plants. Advan. Biol. Res. 2012;6(1):19-23.
[27]