Page 144 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 144

124 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ตารางที่ 2  ชนิดพืชน�้าที่ทดสอบ การจัดหมวดหมู่ และเลขทะเบียนตัวอย่างหลักฐาน [อักษรย่อ E = Emerged plant
                      (พืชโผล่เหนือน�้า), F = Floating plant (พืชลอยน�้า), M = Marginal plant (พืชชายน�้า)]

                ชื่อไทย                     ชื่อวิทยาศาสตร์/วงศ์               เลขทะเบียนตัวอย่าง
             พืชดอกใบเลี้ยงคู่

                                                           F
             กระเฉด               Neptunia oleracea Lour./Fabaceae                  05700
             บัวสาย               Nymphaea pubescens Willd./Nymphaeaceae            05701
                                                                   E
                                                                  E
             บัวหลวง              Nelumbo nucifera Gaerth./Nelumbonaceae            05702
             ผักบุ้ง              Ipomoea aquatica Forssk./Convolvulaceae           05703
                                                                 M
                                                                     M
             แพงพวยน�้า           Ludwigia adscendens (L.) H. Hara/Onagraceae       05704
             แว่นแก้ว             Hydrocotyle umbellata L./Apiaceae                 05705
                                                            M
             โสนอินเดีย           Sesbania speciosa Taub. ex Ebgl./Fabaceae         05706
                                                                   M
             พืชดอกใบเลี้ยงเดี่ยว
                                                                     E
             ก้านจอง              Limnocharis flava (L.) Buchenau/ Alismataceae     05707
                                                                     F
             ไข่น�้า              Wolffia globosa (Roxb.) Hartog & Plas/ Araceae    05708
             ผักตบชวา             Eichhornia crassipes (Mart.) Solms/ Pontederiaceae    05709
                                                                         F
             เฟิร์น
             ผักกูด               Diplazium esculentum (Retz.) Swartz./ Athyriaceae    05710
                                                                        M
                                                                M
             ผักแว่น              Marsilea crenata C. Presl./Marsileaceae           05711







             2. กำรสกัดสำรจำกพืชน�้ำ                     3. กำรตรวจสอบฤทธิ์ต้ำนแบคทีเรียก่อโรคของ

                 ส่วนของพืชน�้าที่ใช้ในการศึกษาเป็นส่วนของพืช  สำรสกัดพืชน�้ำในเบื้องต้น โดยวิธี agar-disc

             ชนิดนั้นที่ใช้ในการบริโภค หลังจากอบจนแห้งแล้วน�า  diffusion assay
             มาสกัดโดยตัวท�าละลาย 99% เอทานอล เมื่อระเหยตัว     จากการตรวจสอบในเบื้องต้นพบว่าในบรรดา
             ท�าละลายออกจะได้สารสกัดที่มีลักษณะ และปริมาณ  สารสกัดทั้งหมดที่ทดสอบนั้น สารสกัดจากยอดอ่อน

             ที่แตกต่างกัน (ตารางที่ 3) ส่วนใหญ่สารที่สกัดได้จะ  และดอกของแพงพวยน�้าและก้านจอง (หรือตาลปัตร
             มีลักษณะเหมือนคาราเมลข้นหนืด ยกเว้นยอดอ่อน   ฤาษี) สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
             ของแพงพวยน�้าที่ให้สารสกัดเป็นผง สีของสารสกัด  ได้ดีอย่างชัดเจน ให้ขนาดของบริเวณใสกว้าง เมื่อ

             ส่วนใหญ่จะได้สีเขียวเข้ม ในขณะที่สารสกัดดอกโสน  เทียบกับสารสกัดพลูซึ่งใช้เป็นตัวควบคุมบวก และ
             อินเดียและไหลบัวเหลืองมีสีเหลือง สารสกัดแพงพวย  DMSO ซึ่งเป็นตัวท�าละลายที่ใช้ละลายสารสกัด
             น�้ามีสีน�้าตาลเข้ม                         และใช้เป็นตัวควบคุมลบที่ไม่พบบริเวณยับยั้ง สาร
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149