Page 147 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 147
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 127
ภาพที่ 3 ค่าความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (MIC) ของสารสกัดแพงพวยน�้าและก้านจอง
โดยวิธี micro-broth dilution โดยเทียบกับ DMSO เป็นตัวควบคุมลบ และ สารสกัดพลูเป็นตัวควบคุมบวก ตัวเลข
บนแท่งคือค่า MIC, ND คือ not detected
อภิปรำยผล ฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวก S. pyogenes และ
ผลการศึกษาของพืชน�้า 12 ชนิดพบว่าสารสกัด S. pneumoniae ได้มากกว่า ในขณะที่ก้านจองมี
เอทานอลของพืชน�้าส่วนใหญ่ 9 ชนิดมีฤทธิ์ยับยั้ง ฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียแกรมลบ S. typhimurium และ
แบคทีเรียได้ ยกเว้นไข่น�้า ผักตบชวาและผักแว่น E. coli ได้ดีกว่าแพงพวยน�้า
สารสกัดส่วนใหญ่ยับยั้งแบคทีเรียแกรมบวกได้ดี ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดจากพืชน�้า
กว่าแบคทีเรียแกรมลบ โดยพบว่ามีสารสกัด 2 ชนิด นั้น เนื่องมาจากชนิดของสารเคมีองค์ประกอบที่อยู่
เท่านั้น ที่สามารถยับยั้งแบคทีเรียแกรมลบ E. coli ได้ ในสารสกัดที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะกลุ่มฟีโนลิก
คือ แพงพวยน�้าและก้านจอง ซึ่งมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ฟลาโวนอยด์ เทอร์พีนอยด์ และ อัลคาลอยด์ ที่ท�าให้
สูงกว่าพืชน�้าอื่น ในขณะที่แพงพวยน�้ามีฤทธิ์ยับยั้ง พืชน�้าที่ศึกษาในประเทศอินเดียมีฤทธิ์แตกต่างกัน
[3]
แบคทีเรียแกรมบวก S. pyogenes (MIC 0.625 มก./ ออกไป การที่แพงพวยน�้ามีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียได้
มล.), S. pneumoniae (MIC 0.625 มก./มล.) และ หลายชนิดนั้น สัมพันธ์กับการที่ประกอบด้วยสาร
S. aureus (MIC 2.5 มก./มล.) มากกว่าแบคทีเรีย ทุติยภูมิหลายกลุ่ม ทั้งฟลาโวนอยด์ กรดฟีโนลิค และ
แกรมลบ S. typhimurium (MIC 5 มก./มล.) และ เทอร์พีนอยด์ ส่วนผักแว่น แว่นแก้วที่มีเฉพาะสาร
E. coli (MIC >10 มก./มล.) ก้านจองมีฤทธิ์ยับยั้ง เทอร์พีน และไข่น�้า ผักตบชวาที่มีสเตอรอลเป็นหลัก
ได้ทั้งแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบใกล้เคียงกัน มีฤทธิ์น้อยกว่าพืชอื่น
(MIC 1.25-2.5 มก./มล.) เมื่อเทียบระหว่างแพงพวย สารทุติยภูมิที่มีอยู่ในสารสกัดพืชน�้า 12 ชนิด
น�้าและก้านจองแล้วพบว่าสารสกัดแพงพวยน�้ามี ที่ศึกษานั้น จัดกลุ่มสารได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม