Page 141 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 141

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  121




                          ระเบียบวิธีศึกษำ                (Piper betle L.) เป็นพืชควบคุมบวก เนื่องจากมี
                                                          รายงานการศึกษาก่อนหน้านี้ว่า สารสกัดพลูมีฤทธิ์
              1. วัสดุ                                    ต้านแบคทีเรียสูง ต่อทั้งแบคทีเรียแกรมบวกและ

                   1.1  พืชทดสอบและการระบุชื่อวิทยาศาสตร์  แกรมลบ และ เป็นการเปรียบเทียบฤทธิ์ของสารที่สกัด
                   พืชที่ใช้ศึกษา ประกอบด้วยพืชน�้าที่เก็บรวบรวม  ภายใต้สภาวะเดียวกันกับพืชน�้า

              จากพื้นที่ในธรรมชาติ จังหวัดพิษณุโลก จ�านวน
              12 ชนิด โดยเลือกจากพืชที่มีสรรพคุณตามต�ารา  2. วิธีกำรศึกษำ
              ทางการแพทย์แผนไทย ประกอบกับรายงานการ            2.1 การสกัดสารจากพืช

              ศึกษาถึงฤทธิ์ต้านจุลชีพและสารทุติยภูมิที่มีความ     น�าชิ้นส่วนของพืชที่เก็บรวบรวมมาล้างให้สะอาด
              เกี่ยวข้อง (ตารางที่ 1) ตัวอย่างพืชได้รับการระบุ  ผึ่งให้แห้ง ท�าให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ อบในตู้อบลมร้อนที่

              ชื่อวิทยาศาสตร์โดย ผศ.ดร.ปราณี นางงาม ซึ่ง  อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส แล้วจึงน�าตัวอย่างแห้ง
              เป็นนักอนุกรมวิธานพืช ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง   ชนิดละ 20 กรัม มาท�าให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หมักใน 99%
              ได้รับการใส่รหัสและถูกเก็บไว้ที่ห้องเก็บตัวอย่าง  เอทานอล (AR grade, MERCK) ปริมาตร 200

              พรรณไม้ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์      มิลลิลิตร ในโหลแก้วที่ปิดฝาไว้แน่น วางในที่มืด ที่
              มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลกโดยใช้พลู   อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 5 วัน ท�าการเขย่าผสมเป็น





              ตารางที่ 1  สรรพคุณและสารทุติยภูมิในพืชน�้า จ�านวน 12 ชนิด
                  พืช      สรรพคุณตามต�าราแพทย์แผนไทย           สารทุติยภูมิที่พบมากในพืช
                                                     [1]
               แพงพวยน�้า   ใบ รสจืดเย็น ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้   protocatechuic acid, betulin, quercetin [15]
               ก้านจอง     -                                    hydroxybenzoic acid, rutin, ferulic acid [16]
               บัวหลวง     ไหล รสหวานเย็นมัน ดับพิษร้อน แก้ไข้ แก้ร้อนใน  betulinic acid, rutin, isoquercetin [17]
                           กระหายน�้า บ�ารุงก�าลัง แก้ดีพิการ
               ผักบุ้ง     ใบ ทั้งต้น รสจืด ถอนพิษ แก้พิษ แก้ตาฟาง   rutin, nicotiflorin [18]
               ผักกูด      ใบ รสเย็น แก้ไข้ แก้ตัวร้อน แก้พิษอักเสบ   cinnamic acid, protocatechuic acid, rutin,
                                                                ecdysteroids [19]
               บัวสาย      รสฝาดหอมเย็น บ�ารุงหัวใจ ช่วยเจริญอาหาร   isorhamnetin, quercetin rhamnoside,
                           ป้องกันไข้หัวลม                      myricetin [4]
               แว่นแก้ว    -                                    limonene, b-pinene [20]

               กระเฉด      รสจืดเย็น แก้ไข้ตัวร้อน ถอนพิษอักเสบ   quercetin, kaempferol, myricetin [21]
               โสนอินเดีย   ดอก รสหวานเย็น สมานล�าไส้           quercetin rhamnosylrutinoside [22]
               ไข่น�้า     -                                    b-sitosterol, stigmasterol [3]

               ผักตบชวา    ทั้งต้น รสจืด แก้พิษภายในร่างกาย ขับลม   stigmasterol, azulene [23]
               ผักแว่น     รสจืดเย็น แก้ร้อนในกระหายน�้า ดับพิษ   neophytadiene, phytol [24]
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146