Page 220 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 220

202 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




                                                                                [1]
           คือ Lower plexus injury (Klumpke’s palsy) เกิด  ให้เตรียมผู้ป่วยเพื่อการผ่าตัด ถึงแม้จะมีความ
           จากพยาธิสภาพที่ ระดับ C8-T1 พบร้อยละ 0.6 [7]   ก้าวหน้าทางวิชาการแพทย์อย่างมาก แต่อุบัติการณ์

           ทารกจะมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อกลุ่ม flexors   BPBP ยังไม่เปลี่ยนแปลง และทางเลือกในการรักษา
           ของข้อมือ และนิ้วรวมถึงมัดกล้ามเนื้อมือ (intrinsic   ยังแตกต่างกัน ในรายงานครั้งนี้ผู้เขียนได้นำาเสนอการ
           hand muscles) ด้วย จะพบมี extension ของข้อ   ติดตามผู้ป่วย BPBP ที่ได้รักษาด้วยศาสตร์มณีเวช

           metacarpal-phalangeal joints และ flexion ของ   ที่เป็นภูมิปัญญาโบราณของไทย จีน อินเดีย นำามา
           proximal and distal interphalangeal joints   บูรณาการกับการแพทย์แผนปัจจุบัน
           (claw hand deformity) และสูญเสียการรับรู้สัมผัส

           ที่แขนด้วย  ส่วนชนิดสุดท้ายคือ total brachial            ร�ยง�นผู้ป่วย
                    [6]
           plexus injury เป็นพยาธิสภาพที่ระดับ C5-T1 พบ     ผู้ป่วยเด็กหญิงอายุ 6 เดือน เกิดเดือนมกราคม
                                                                                       ้
           ประมาณร้อยละ 10 พยากรณ์โรคกลุ่มนี้ไม่ดีนัก พบ  2558 ภูมิลำาเนา จังหวัดนครศรีธรรมราช นำาหนักแรก
           ว่าร้อยละ 66 ของการบาดเจ็บเป็นชนิดถาวร [8]  คลอด 4,568 กรัม คลอดทางช่องคลอดและคลอดติด
                A Abid รวบรวมรายงาน BPBP ที่มีการฟื้นตัว  ไหล่ มีภาวะขาดออกซิเจน ไม่สามารถขยับแขนขวาได้

           ได้อย่างสมบูรณ์ มีถึงร้อยละ 75-95 รายงานที่พบการ  ส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชนไปโรงพยาบาลจังหวัด
                 ่
           ฟื้นตัวตำาสุดอยู่ที่ร้อยละ 66 กลุ่มที่เสียการทำางานเล็ก  เพื่อรักษาต่อในวันแรกที่คลอด อยู่ในหอผู้ป่วยทารก
           น้อยอยู่ที่ร้อยละ 20-30 และกลุ่มพิการส่งผลต่อชีวิต  แรกเกิดวิกฤติ 1 เดือน ได้ตรวจกล้ามเนื้อและเส้น

           ประจำาวันเป็นร้อยละ 10-15  บางรายงานพบว่าการ  ประสาทด้วยไฟฟ้า (electromyography) พบมีการ
                                 [1]
           ฟื้นตัวด้วยวิธีอนุรักษ์ โดยไม่ผ่าตัด สูงถึงร้อยละ 90   บาดเจ็บของแขนงประสาทแขน วินิจฉัยเป็น Erb’s
                        ่
           จนถึงรายงานที่ตำาเพียงร้อยละ 30 [9-11]  มีการพยายาม  palsy ใน 1 เดือนแรกได้รับการฟื้นฟูจากนักกิจกรรม
           รักษาด้วยการผ่าตัดตั้งแต่ปี 1930 แต่ไม่ประสบผล  บำาบัดต่อเนื่อง และเมื่อออกจากโรงพยาบาล ได้มาตาม
           สำาเร็จ ปี 1960 ที่เริ่มมีการใช้ microsurgery ใน  นัดเพื่อทำากิจกรรมบำาบัดต่อเนื่อง 3 เดือน ในเดือน

           ผู้ใหญ่ ในปัจจุบันใช้การฟื้นฟูสภาพด้วยกิจกรรม  ที่ 4 ได้รักษาด้วยการกระตุ้นเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า
           บำาบัด กระตุ้นเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า และการผ่าตัด [1]   ต่อเนื่องวันเว้นวัน จนถึงอายุ 6 เดือน ในช่วงเวลาที่
           Pondaag และคณะ ทบทวนรายงานและมีความเห็น     รักษา มารดาสังเกตว่าเด็กยังมีอาการกล้ามเนื้อแขน

           ว่าอุบัติการณ์ของที่ต้องผ่าตัดสูงถึงร้อยละ 20–30 [9]   ขวาอ่อนแรง และกล้ามเนื้อแขนขวาลีบเล็กกว่าแขน
           พยากรณ์โรคใน BPBP ขึ้นกับอาการที่พบในครั้งแรก   ซ้ายสังเกตได้ชัดในเดือนที่ 2 หลังคลอด หากอยู่ใน
           หากมี total paralysis, Horner syndrome และ   ท่านอนหงาย สามารถยกแขนได้สูงเหนือลำาตัวเล็ก

           diaphragmatic paralysis เป็นพยากรณ์โรคที่ไม่ดี   น้อย แต่ไม่สามารถกระดกข้อมือขวาได้ ไหล่ขวาอยู่
           ผู้ป่วยที่มีการฟื้นสภาพของเส้นประสาท Mucocuta-  ในท่าหมุนข้อไหล่เข้าด้านในลำาตัว ในลักษณะ ad-

           neous ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อ Biceps ได้เร็วโดยเฉพาะใน   duction และ internal rotation ข้อศอกจะอยู่ในท่า
           3 เดือนแรก มีพยากรณ์โรคที่ดี หากยังไม่มีการฟื้นตัว  pronation และ extension (waiter’s tip position)
           ของกล้ามเนื้อ Biceps ภายใน 3 เดือน มีการแนะนำา  ตามภาพที่ 1 หากอุ้มเด็กอยู่ในท่านั่ง จะไม่สามารถยก
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225