Page 221 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 221
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 203
waiter’s tip position ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหว
ไหล่ในลักษณะ abduction ไม่สามารถหมุนส่วนของ
forearm ในลักษณะ external และ supination ได้
ไหล่ขวามีกล้ามเนื้อที่ลีบเล็กและเคลื่อนไปด้านหน้า
จากแนวลำาตัวชัดเจน
หลังประเมินแพทย์ได้อธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจ
และตกลงใจรับการรักษาตามหลักการของมณีเวช ซึ่ง
ภาพที่ 1 อายุ 3 เดือน waiter’s tip position ประกอบด้วยคำาแนะนำาท่าทางอิริยาบถในชีวิตประจำา
วันของผู้ป่วย การปรับสมดุลโครงสร้างตาชั่งบนตาชั่ง
แขนขวาได้ ช่วงอายุ 3-6 เดือน มีพัฒนาการล่าช้า ไม่ ล่างและเข็มตาชั่งแบบมณีเวช ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้ปรับ
่
สามารถพลิกตะแคงควำา ขณะอยู่ในท่านั่งยังประคอง สมดุลให้ รวมถึงผู้ปกครองต้องช่วยบริหารให้ผู้ป่วย
ศีรษะให้ตั้งตรงไม่ได้ ทุกวันตามคำาแนะนำาของแพทย์ [12-13] จึงเริ่มการรักษา
เมื่ออายุ 6 เดือน มารดาได้ทราบข้อมูลเรื่อง ด้วยมณีเวชขณะอายุ 6 เดือน ผู้ป่วยได้มาตามนัดพบ
การฟื้นฟูโครงสร้างร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช จาก แพทย์ที่โรงพยาบาล ทุก 1 - 2 เดือน จนอายุปัจจุบัน
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใกล้บ้าน จึงได้นำาผู้ป่วยมา ขณะรายงานผู้ป่วยคือ 4 ปี 7 เดือน
ประเมิน รักษา และรับคำาแนะนำาการบริหารโครงสร้าง ติดตามผลหลังการรักษาครั้งที่ 1 นาน 1 เดือน
ร่างกายที่เสียสมดุลจากกุมารแพทย์ที่ผ่านการอบรม ผู้ปกครองได้ปรับท่าทางและอิริยาบถตามคำาแนะนำา
มณีเวชจากชมรมประสิทธิ์มณีเวช ในโรงพยาบาล โดยหลีกเลี่ยงการนอนตะแคงทับด้านขวา ปรับ
ชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการตรวจร่างกายก่อน หมอนหนุนให้เหมาะกับสรีระ ผู้ปกครองช่วยบริหาร
ใช้มณีเวชขณะอายุ 6 เดือน พบดังนี้ โดยใช้มณีเวชสำาหรับทารก คือ ท่านกบิน ท่าโม่แป้ง
ผู้ป่วยเด็กหญิงไทย ตรวจร่างกายทั่วไปขณะ ท่ากรรเชียง ท่าดอกบัวบาน และท่างูแมวเต่า โดย
[14]
่
อยู่ในท่านอนผู้ป่วยไม่สามารถพลิกควำาพลิกหงาย บริหารให้ท่าละ 5 ครั้ง วันละ 1 - 2 รอบ ภายใน 1 เดือน
่
ได้ ยกศีรษะได้เล็กน้อยในท่านอนควำา เมื่อพยุงตัว ผู้ป่วยสามารถยกแขนและกางข้อไหล่ได้ กระดกข้อ
ให้นั่ง ลำาตัวจะเอียงไปทางขวาไม่สามารถทรงตัวใน มือได้เกือบเป็นแนวตรง และงอข้อศอกจากเดิมที่อยู่
ท่านั่งได้ ใช้เฉพาะมือซ้ายเพื่อเอื้อมหยิบสิ่งของที่ใช้ ในท่า waiter’s tip position ขยับนิ้วมือขวาได้และ
ทดสอบ กระดกข้อมือขวาไม่ได้ กำาสิ่งของที่ทดสอบ เริ่มกำาสิ่งของขนาดใหญ่ได้ กล้ามเนื้อแขนขวาเริ่มเพิ่ม
่
ด้วยมือขวาไม่ได้ ส่งเสียงในลำาคอ และหันตามเสียง ขนาดจากเดิมที่ลีบลง เริ่มพลิกหงายพลิกควำา และนั่ง
เรียกของมารดาได้ เมื่อตรวจการเคลื่อนไหวของ โดยช่วยพยุงลำาตัวได้ ดังภาพที่ 2 ภายหลังที่เริ่มใช้
รยางค์บนพบว่ามี disuse atrophy of right arm and มณีเวช และเห็นการเปลี่ยนแปลง มารดาจึงลดการ
forearm โดยมีลักษณะของ adduction and inter- ไปกระตุ้นเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า จากวันเว้นวัน เป็น
nal rotation of right shoulder position ข้อศอก เดือนละ 1 - 2 ครั้ง และหยุดการกระตุ้นเส้นประสาท
ขวา มีลักษณะ pronation and extension หรือในท่า ด้วยไฟฟ้าไปตอนอายุ 9 เดือน