Page 216 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 216
198 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
การนวด ที่ท�าให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นคลายตัว ท�าให้ กล้ามเนื้อต่อแรงยืดลดลง การไหลเวียนของเลือดจะ
หลอดเลือดที่ถูกกดบีบเป็นอิสระ รวมทั้งการนวดยัง เพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายตัวของหลอดเลือดขนาดเล็ก
มีผลกระตุ้นต่อประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการท�างาน และหลอดเลือดฝอย รวมถึงผลของสมุนไพรที่ใช้ใน
ของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดแดงท�าให้มีการ ต�ารับยาลูกประคบ ได้แก่ ไพล ขมิ้นชัน การบูร มะกรูด
ขยายตัว และผลจากการนวดถูท�าให้เซลล์แมสท์ ตะไคร้ มะขาม ส้มป่อย เป็นต้น โดยทั่วไปสมุนไพรที่
(mast cell) ปล่อยสารคล้ายฮีสตามีนออกมาท�าให้ ใช้ท�าลูกประคบมีสรรพคุณคือ ไพล แก้ฟกช�้า บวม
[7]
หลอดเลือดแดงขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ออกซิเจนเพิ่ม เคล็ด ยอก แก้เคล็ดยอกบวม นอกจากการประเมิน
ขึ้นช่วยลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ และส่งเสริม ลักษณะของฝ่ามือโดยการตรวจทางหัตถเวช ลักษณะ
ความสามารถในการยืดตัวของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน รวม ฝ่ามือ พบว่าฝ่ามือของผู้ที่เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและ
ทั้งเพิ่มการไหลเวียนกลับของหลอดเลือดด�าและ หลังการนวดไม่พบความผิดปกติของรูปร่างของฝ่ามือ
น�้าเหลือง ท�าให้มีการระบายหรือลดปริมาณของสาร และนิ้ว เนื่องจากเป็นโรคนิ้วล็อกระยะเริ่มต้น มีระดับ
ต่าง ๆ ที่เกิดบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ การนวดยังมีผล ความปวดปานกลาง ส่วนมากจะก�ามือได้ ยังปฏิบัติ
ลดปัจจัยที่เป็นสิ่งเร้าทางอารมณ์ ที่เนื่องจากขณะนวด กิจวัตรประจ�าวันได้ เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการ
ผู้ถูกนวดจะไม่ถูกรบกวนหรือท�ากิจกรรมใด ๆ ส่วน นวด พบว่า หลังการนวดจ�านวนคนที่ก�ามือได้ดีขึ้น
การสัมผัสจากการนวดความเอาใจใส่และเอื้ออาทร มากกว่าก่อนนวด การเหยียดนิ้ว พบว่าจ�านวนคนที่มา
ระหว่างผู้นวดและผู้ถูกนวด ยังท�าให้เกิดความรู้สึก รับการรักษาทั้งก่อนและหลังการนวด เหยียดนิ้วได้
อบอุ่น เกิดการผ่อนคลายในบริเวณที่นวดและความ จ�านวนมากขึ้นเมื่อได้รับการนวดรักษา ในครั้งที่ 1 และ
พึงพอใจ ซึ่งเป็นการเร้าทางอารมณ์ด้านบวกที่มีผล 2 ส่วนครั้งที่ 3 เหยียดนิ้วได้ร้อยละ 100 ทั้งก่อนและ
กระตุ้นระบบลิมบิค ท�าให้มีการหลั่งสารเอนดอร์ฟินท�า หลังการรักษา การหาจุดเจ็บความผิดปกติของข้อ พบ
ให้เกิดความผ่อนคลายทั่วทั้งตัว จึงท�าให้ลดความเจ็บ ว่า ครั้งที่ 1 ก่อนการนวดพบจุดเจ็บบริเวณข้อร้อยละ
ปวดได้อีกทาง การประคบสมุนไพรหลังจากการนวด 100 หลังการรักษาพบว่าจ�านวนคนที่พบจุดเจ็บบริเวณ
[6]
รักษา โดยใช้เวลาในการประคบรักษา 15 นาที ประคบ ข้อลดลง เหมือนกับครั้งที่ 2 และ 3 และการทดสอบ
ทุกครั้งหลังการนวด รวมทั้งหมดประคบ 3 ครั้งต่อผู้ ก�าลังมือ พบว่า จ�านวนคนที่มารับการนวดรักษา มี
ป่วย 1 คน การประคบสมุนไพรจึงอาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ก�าลังมือเพิ่มมากขึ้นหลังได้รับการนวด ซึ่งอธิบายได้
ที่ช่วยลดอาการนิ้วล็อก เพราะการประคบสมุนไพร จากกระบวนการการเกิดโรคนิ้วล็อกคือ เกิดจากการ
เป็นการให้ความร้อนเฉพาะที่แก่เนื้อเยื่อของร่างกาย เสียสัดส่วนของปลอกหุ้มและเส้นเอ็น ซึ่งเป็นเส้นเอ็น
ความร้อนที่เพิ่มขึ้นจะท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ที่ใช้งอนิ้วมือ โดยปกติแล้วปลอกหุ้มเอ็นมีหน้าที่รัด
คุณสมบัติทางกายภาพของ fibrous tissue ในเส้น เส้นเอ็นให้อยู่ติดกับกระดูก ในขณะที่เราก�ามือ แบมือ
เอ็น เอ็นหุ้มข้อ และแผลเป็น คือ เนื้อเยื่อนี้จะยืดได้ นิ้วจะมีการเคลื่อนไหวเส้นเอ็นที่นิ้วมือ จะถูกดึง
ง่ายเมื่อถูกความร้อน การให้ความร้อนที่เส้นประสาท เสียดสีกับปลอกเอ็น การใช้มือท�างานหนัก ๆ ซ�้า ๆ
ส่วนปลายจะท�าให้ pain threshold เพิ่มขึ้นในบริเวณ ท�าให้เกิด การเสียดสี จนท�าให้เส้นเอ็นบวม เกิดพังผืด
ที่เส้นประสาทนั้นไปเลี้ยง ความร้อนท�าให้ความไวของ หนาตัวขึ้นเป็นปมหรือปลอกเอ็นหนาแข็งตัวเสียความ