Page 224 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 224

206 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




                                                                       [12]
                มณีเวช เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเป็นเกียรติต่ออาจารย์  สามารถบริหารเองได้  ซึ่งการปรับนี้อาศัยหลักการที่
           ประสิทธิ์ มณีจิระปราการ ผู้คิดค้นพัฒนาภูมิปัญญา  ว่า กระดูกทั้ง 206 ชิ้นเกี่ยวโยงเหมือนเส้นเชือก หาก

           โบราณของไทย จีน อินเดีย และได้บูรณาการเข้ากับ  มีการเสียสมดุลแม้เพียงชิ้นเล็ก อาจส่งผลถึงการ
           หลักวิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) สรีรวิทยา   ทำางานของร่างกายในส่วนอื่นได้ การปรับกระดูกที่เสีย
           (Physiology) ประสาทวิทยา (Neurology) และ    ระเบียบต้องมองให้ออกว่าส่วนไหนที่ยังไม่สมดุล และ

                              [14]
           ชีวเคมี (Biochemistry)  หลักการของมณีเวชที่ใช้  ปรับส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ได้ปรับเฉพาะไหล่หรือ
           อธิบายในกลไกการบาดเจ็บจากการคลอดติดไหล่     แขนที่ดูว่าเสียสมดุล การปรับในรายนี้จะเริ่มที่กระดูก
           มองพยาธิสภาพที่เกิดจากแรงดึงนั้น ส่งผลต่อ   สันหลัง ที่ถูกรั้งไปในด้านที่บาดเจ็บ แล้วจึงปรับที่ข้อ

           โครงสร้างที่ประกอบเป็น shoulder girdle ทั้งหมด ที่  ไหล่ส่วนที่บาดเจ็บ ในองศาที่ค่อยเป็นค่อยไป และ
           มีกระดูกเป็นโครงสร้างหลักมีกล้ามเนื้อ เส้นประสาท   ตามแนวของกายวิภาคศาสตร์ ตามทิศที่หมุนได้ไม่
           หลอดเลือด ท่อนำ้าเหลืองทั้งหมดที่มาเกาะเกี่ยวกับ  เกินจากแนวธรรมชาติของข้อนั้น ๆ [13]

           กระดูก หากการรักษามุ่งเน้นการฟื้นตัวของเส้น     ในระยะแรก ผู้ปกครองต้องเข้าใจหลักการของ
           ประสาท จะไม่ได้แก้ไขการเสียระเบียบของกระดูก  มณีเวช มีการยินยอมให้รักษา ผู้ป่วยรายนี้ได้รักษา

           ส่วนที่ถูกดึงรั้ง ซึ่งชักนำาให้มีการเสียระเบียบของ  ด้วยมณีเวช หลังจากเกิด BPBP แล้ว 6 เดือน ต้องใช้
           กระดูกชิ้นอื่น ๆ ที่เชื่อมสัมพันธ์กันด้วยกล้ามเนื้อและ  เวลาในการฟื้นฟู และความร่วมมือที่จะดูแลต่อที่บ้าน
           เอ็นที่ดึงถึงกัน ส่งผลต่อการทำางานของอวัยวะส่วน  ด้วยการบริหารให้ผู้ป่วย เลี่ยงนอนตะแคงและนอน
                                                         ่
           ปลายที่ชิ้นของกระดูกที่เสียระเบียบนั้น ไปรบกวนการ  ควำาเพื่อลดการบิดของกระดูกสันหลัง ท่าอุ้มที่ต้อง
           ไหลเวียนเลือด นำ้าเหลือง และระบบประสาท (blood   ประคองให้ร่างกายมีสมดุลซ้ายขวา หลีกเลี่ยงการใช้

           vessel, lymphatic drainage และ nervous sys-  รถหัดเดิน การบริหารท่าตาชั่งบน ตาชั่งล่าง และเข็ม
           tem) ทำาให้การทำางานที่สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ ไม่  ตาชั่งที่ประยุกต์มาจากท่าในการรักษาของอาจารย์
           สามารถฟื้นตัวได้อย่างเต็มที่ เมื่อนำามณีเวชมาใช้เพื่อ  ประสิทธิ์ มณีจิระประการ และมาติดตามอาการ

           การรักษาหรือฟื้นฟูสภาพจึงมีประเด็นสำาคัญคือ ต้อง  ตามนัดเพื่อปรับท่าบริหารให้สัมพันธ์กับส่วนของ
           สังเกตการเสียสมดุลของร่างกายทั้งหมด การซัก  โครงสร้างที่ยังเสียระเบียบ รวมระยะเวลาในการรักษา
           ประวัติเพื่อหาเหตุของการเสียสมดุล แนะนำาให้ปรับ  ผู้ป่วยรายนี้จนถึงเวลาที่รายงานผู้ป่วย 4 ปี 1 เดือน ใน

           อิริยาบถในชีวิตประจำาวัน สอนการจัดอิริยาบถใน  2 สถานพยาบาล พบว่าการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อตั้งแต่
           ทารก หรือผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ บริหารร่างกาย  สะบัก ไหล่จนถึงนิ้วมือขวา ดีขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 6
           ด้วยหลักการมณีเวช ประกอบด้วยท่าบริหารตาชั่งบน   เดือนแรก หลังจากนั้นยังคงเหลือส่วนของข้อศอกที่ยัง

           ท่าบริหารตาชั่งล่าง และเข็มตาชั่ง และสุดท้ายคือ   ยืดได้ไม่ถึง 180 องศา แต่ผู้ป่วยสามารถใช้แขนทั้งสอง
           รักษาด้วยการปรับกระดูกที่เสียระเบียบ ส่วนนี้ใช้  ข้างทำากิจวัตรประจำาวันได้เต็มที่ และเข้าเรียนได้ในชั้น

           เฉพาะในบุคลากรทางการแพทย์ที่ผ่านการอบรมจาก  เรียนปกติ ผู้รายงานเห็นว่าควรมีการศึกษาเพิ่มเติมใน
           ชมรมประสิทธิ์มณีเวชแล้ว จะใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการ  ผู้ป่วยทารกแรกเกิดที่มีการบาดเจ็บของแขนงประสาท
           เสียสมดุลมาก หรือในเด็กแรกคลอด เด็กเล็ก ที่ไม่  แขนจากการคลอดในกลุ่มที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229