Page 223 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 223
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 205
ภาพที่ 6 อายุ 4 ปี ขณะมาตรวจตามนัดที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
ภาพที่ 7 การเคลื่อนไหวของรยางค์บนด้านขวาหลังการรักษาด้วยมณีเวช อายุ 4 ปี 7 เดือน
ได้บันทึกภาพและขอภาพจากมารดาผู้ป่วย Extended Erb’s palsy ไม่สามารถงอข้อศอกขึ้นเอง
เพื่อประเมินการทำางานของข้อไหล่ ในท่าทางการ ได้ภายใน 3-6 เดือน เช่นเดียวกับผู้ป่วยในรายงานนี้
เคลื่อนไหวที่อิงตาม Mallet scale ดังภาพที่ 7 เป็นพยากรณ์โรคที่ไม่ดี สมควรได้รับการผ่าตัด และ
[15]
ร้อยละ 35 พบว่าในผู้ป่วยที่ไม่สามารถฟื้นสภาพของ
บทวิจ�รณ์ เส้นประสาทได้ภายใน 2 เดือนจะมีโอกาสเกิดปัญหา
การรักษาในการแพทย์ปัจจุบัน ผู้ป่วย BPBP เกี่ยวกับข้อไหล่ยึดมาภายหลัง ในผู้ป่วยรายนี้ ได้
[1-3]
ส่วนใหญ่มีการฟื้นฟูของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ ผ่านการรักษาแบบอนุรักษ์ ทำากิจกรรมบำาบัดและ
ได้ด้วยวิธีอนุรักษ์ พยากรณ์โรคที่ดีที่สุดพบในการ กระตุ้นเส้นประสาทด้วยไฟฟ้าเป็นเวลา 6 เดือน แต่
้
บาดเจ็บของเส้นประสาทที่เป็นลักษณะการชำามีโอกาส ยังไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขวาได้ รวมทั้งสังเกต
ฟื้นตัวได้สูงถึงร้อยละ 90 ในกรณีที่มีการบาดเจ็บ C7 ว่ากล้ามเนื้อส่วนที่เกี่ยวข้องลีบเล็กลง ผู้ปกครองจึง
ร่วมด้วย พบว่าร้อยละ 80 จะมีการฟื้นตัวที่ไม่ดี ใน ตัดสินใจเลือกการรักษาด้วยมณีเวช ทำาให้ผู้ป่วยกลับ
ขณะที่ถ้ามีการบาดเจ็บของ C8, T1 จะมีพยากรณ์ มามีการใช้งานแขนและมือขวาในชีวิตประจำาวันได้เท่า
โรคแย่ที่สุด และสำาหรับกลุ่มผู้ป่วย Erb’s palsy และ เด็กในวัยเดียวกัน