Page 215 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 215
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 197
ตารางที่ 4 ประเมินจุดกดเจ็บและความผิดปกติของข้อนิ้วที่ล็อก
ข้อมูล ครั้งที่ 1 (วันที่ 1) ครั้งที่ 2 (วันที่ 3) ครั้งที่ 3 (วันที่ 5)
จำานวนผู้ป่วย/ ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
ร้อยละ พบ ไม่พบ พบ ไม่พบ พบ ไม่พบ พบ ไม่พบ พบ ไม่พบ พบ ไม่พบ
30 0 10 20 20 10 7 23 11 19 3 27
100 0.0 33.3 66.7 66.7 33.3 23.3 76.7 36.7 63.3 10.0 90.0
ตารางที่ 5 การทดสอบกำาลังของนิ้วมือข้างที่ล็อก
ครั้งที่ 1 (วันที่ 1) ครั้งที่ 2 (วันที่ 3) ครั้งที่ 3 (วันที่ 5)
จำานวน ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
ผู้ป่วย/ มาก ปาน น้อย มาก ปาน น้อย มาก ปาน น้อย มาก ปาน น้อย มาก ปาน น้อย มาก ปาน น้อย
ร้อยละ กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง กลาง
10 17 3 11 17 2 9 17 4 12 18 0 12 16 2 13 17 0
33.3 56.7 10.0 36.7 56.7 6.7 30.0 56.7 13.3 40.0 60.0 0.0 40.0 53.3 6.7 43.3 56.7 0.0
การบริหารข้อมือ นิ้วมือหลีกเลี่ยงการใช้นิ้วในกรณีที่ จากใยประสาทขนาดใหญ่มีผลต่อการกระตุ้นต่อ
้
ใช้ซ�า หนักและนาน ๆ ผู้ที่เข้าร่วมโครงการส่วนมาก เซลล์เอสจี (substantia gelatinosa) ซึ่งหน้าที่เป็น
จะประกอบอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ดังนั้นยิ่งต้อง ตัวควบคุมการปิด-เปิดประตู ท�าให้ประตูปิดจึงไม่มี
ใช้มือในการพิมพ์คอมพิวเตอร์ การเขียนหนังสือ เพิ่ม สัญญาณประสาทไปกระตุ้นเซลล์ ท�าให้ไม่มีความรู้สึก
มากขึ้นดังข้อมูลพื้นฐานที่พบในโรคนี้ผู้หญิงมากกว่า เจ็บปวด การนวดตามแนวคิดทฤษฎีการควบคุม
[4]
ผู้ชาย 4-5 เท่า และจะเกิดขึ้นในช่วงอายุ 45 ปีขึ้นไป ภายใน เป็นการกระตุ้นใยประสาทขนาดใหญ่น�าลง
[1]
แต่จากจ�านวนผู้มารับการรักษาพบว่าส่วนใหญ่ในการ จากส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เป็นศูนย์ควบคุมความ
ปฏิบัติตัวของกลุ่มตัวอย่างในระหว่างการรักษา พบว่า เจ็บปวด ท�าให้มีการหลั่งสารคล้ายฤทธิ์มอร์ฟีน ออก
กลุ่มตัวอย่างท�ากิจวัตรประจ�าวันตามปกติมากที่สุด มายับยั้งหรือควบคุมความเจ็บปวดในกลไกของการ
อาจเนื่องจากเป็นกิจวัตรที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะเป็น ควบคุมประตูในระดับไขสันหลังในส่วนดอร์ซัลฮอร์น
หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ท�าให้เกิด โดยกระตุ้นเซลล์ประสาทภายใน ในชั้นเอสจี (sub-
อาการล็อกและปวดไม่หายขาด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นอาการ stantia gelatinosa) ให้ปล่อยสารเอนเคฟาลีน ออก
ปวดก็ลดน้อยลงหลังจากที่ได้รับการนวดรักษา การ ไปยับยั้งการท�างานของสารพี มีผลท�าให้ประตูปิดจึง
ลดความเจ็บปวดโดยการนวด สามารถอธิบายถึง ไม่เกิดความรู้สึกเจ็บปวด [5]
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในความลดความเจ็บปวดได้ดังนี้ การนวดตามแนวคิดของกลไกทางสรีรวิทยา
ตามแนวคิดของทฤษฎีการควบคุมประตู การนวด ของความเจ็บปวด ช่วยลดสิ่งที่จะมากระตุ้นตัวรับ
เป็นการกระตุ้นใยประสาท โดยน�าสัญญาณประสาท ความเจ็บปวด จากผลโดยตรงทางกลศาสตร์ของวิธี