Page 222 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 222
204 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ภาพที่ 2 ภายหลังการรักษาด้วยมณีเวชในครั้งที่ 1 ขณะ ภาพที่ 3 หลังรักษาด้วยมณีเวชในครั้งที่ 3 ขณะอายุ 9
อายุ 7 เดือน เดือน
ในครั้งที่ 3 ของการรักษา ที่อายุ 9 เดือน เป็น
ระยะที่รักษาด้วยมณีเวชเพียงอย่างเดียว พบว่าไหล่
สองข้างลดความแตกต่างของขนาดกล้ามเนื้อรอบ
่
ไหล่ และความสูงตำาของสะบัก นั่งได้เอง ยกแขนได้
เกินระดับไหล่ ใช้มือขวาหยิบจับสิ่งของได้ กระดกข้อ
มือได้เต็มที่ เริ่มคืบ และยันตัวจากท่านอนมานั่งได้ ดัง
ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภายหลังการรักษาด้วยมณีเวช ขณะอายุ 10
เดือน
ในครั้งที่ 4 ของการพบแพทย์ อายุ 10 เดือน
ผู้ป่วยใช้มือขวาหยิบและกำาสิ่งของได้ดีขึ้น เหยียด
และงอศอกได้ดีขึ้นแต่ยังไม่สามารถยืดศอกได้ตรง
ยกแขนได้เกินระดับไหล่ในท่านั่ง แต่ยังไม่สามรถยก
ได้เหนือศีรษะ ดังภาพที่ 4
หลังจากอายุ 10 เดือน ผู้ป่วยได้มาตามนัดทุก
3 – 4 เดือน จนอายุ 2 ปี 2 เดือน ผู้ป่วยสามารถใช้แขน
ขวาได้ใกล้เคียงด้านซ้าย ปีนป่ายเก้าอี้และเตียงในห้อง ภาพที่ 5 หลังจากรักษาด้วยมณีเวชเป็นเวลา 20 เดือน
ตรวจได้อย่างคล่องแคล่ว ยังคงเหลือองศาข้อศอก (อายุ 2 ปี 2 เดือน)
ที่ยังเหยียดได้ไม่สุด ในช่วงอายุนี้ พัฒนาการด้าน
ความเข้าใจและการใช้ภาษา การช่วยเหลือตนเองและ จังหวัดสุราษฎร์ธานี อีก 3 ครั้ง หลังจากนั้น อายุ 4 ปี จึง
สังคม กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา การเคลื่อนไหว ได้รักษาด้วยมณีเวชต่อกับแพทย์ที่สถาบันสุขภาพเด็ก
ของร่างกาย (ยกเว้นการเหยียดข้อศอก) อยู่ในเกณฑ์ แห่งชาติมหาราชินีเนื่องจากย้ายภูมิลำาเนา ในปัจจุบัน
สมวัยดังภาพที่ 5 สามารถใช้งานแขนและมือด้านขวาได้อย่างปกติ ดัง
หลังจากนั้น ผู้ปกครอง ได้ใช้การบริหารร่างกาย ภาพที่ 6 ขณะมาตรวจตามนัดที่สถาบันสุขภาพเด็ก
ตามคำาแนะนำา และมาติดตามต่อเนื่องกับแพทย์ใน แห่งชาติมหาราชินี