Page 148 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 148
498 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
ตารางที่ 3 คะแนนเฉลี่ยทักษะการแก้ปัญหารายข้อก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมฯ
ก่อนได้รับ หลังได้รับ
โปรแกรม โปรแกรม
ข้อ รายการ Mean SD. Mean SD.
1 การค้นหาปัญหาสุขภาพของชุมชน 2.32 0.60 3.26 0.55
2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาสุขภาพชุมชน 2.41 0.56 3.35 0.51
3 ใช้วิธีการสืบค้นข้อมูลที่หลากหลายจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 2.50 0.63 3.35 0.51
4 สืบค้นวิธีการแก้ปัญหาสุขภาพจากรายงานวิจัยและแนวปฏิบัติ 2.37 0.64 3.23 0.53
5 ประเมินคุณภาพของข้อมูลโดยใช้เหตุผล 2.37 0.58 3.32 0.51
6 สามารถอธิบายโดยมีหลักฐานการอ้างอิงอย่างถูกต้อง 2.51 0.73 3.33 0.50
7 รับฟังความคิดเห็นของประชาชน 2.82 0.63 3.60 0.52
8 ส่งเสริมให้บุคคล กลุ่มคนหรือชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ 2.71 0.67 3.44 0.60
ปัญหาสุขภาพชุมชนเช่น อสม. และผู้นำาชุมชน เป็นต้น
9 รู้จักวิธีค้นหาภูมิปัญญาที่ชาวบ้านใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ 2.58 0.73 3.46 0.53
10 เลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ปัญหาสุขภาพได้ 2.58 0.75 3.46 0.57
สอดคล้องกับวิถีชีวิต
11 เชื่อมโยงความรู้ทางการพยาบาลกับภูมิปัญญาที่เลือกใช้ 2.50 0.71 3.37 0.55
12 บอกข้อควรระวัง ความเสี่ยง หรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น 2.55 0.63 3.39 0.52
จากการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
13 ประเมินผลลัพธ์ของกิจกรรม โครงการได้สอดคล้องกับ 2.55 0.71 3.35 0.51
วัตถุประสงค์
เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำาหมู่บ้าน (อสม.) ใช้ทรัพยากรหรือเทคโนโลยีที่มีอยู่ในชุมชน มีความ
และผู้นำาชุมชน เป็นต้น (3.60, 3.46, 3.46 และ 3.44 ประหยัด และได้ผลลัพธ์ที่ดี จำานวน 7 หมู่บ้านที่เป็น
ตามลำาดับ) ข้อที่ได้คะแนนน้อยที่สุด คือ สืบค้นวิธีการ แหล่งฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษา โดยใช้วิธีการสอน
แก้ปัญหาสุขภาพจากรายงานวิจัยและแนวปฏิบัติการ แบบกลุ่มและการเยี่ยมบ้านดังต่อไปนี้
ค้นหาปัญหาสุขภาพของชุมชน และประเมินคุณภาพ ปัญหาสุขภาพที่พบในชุมชนมีดังนี้ โรคเบาหวาน
ของข้อมูลโดยใช้เหตุผล (3.23, 3.26 และ 3.32 ตาม จำานวน 3 ชุมชน โรคความดันโลหิตสูง จำานวน 2 ชุมชน
ลำาดับ) (ตารางที่ 3) และโรคข้อเข่าเสื่อม จำานวน 2 ชุมชน ในส่วนของโรค
นักศึกษามีการนำาความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เบาหวานชุมชนที่ 1 เลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบ
ได้จากการสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ไปประยุกต์ใช้ ด้วย สมาธิบำาบัดด้วยการสวดมนต์นับลูกประคำา (สวด
โดยเป็นไปตามปัญหาสุขภาพที่พบในชุมชน และให้ มนต์บทพุทธคุณ 1 รอบพร้อมกับเลื่อนลูกประคำา 1
ชุมชนมีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการที่เหมาะสมและ เม็ดต่อ1 คำาสวด จำานวน 9 รอบ) นั่งสมาธิ (กำาหนดลม
สอดคล้องกับวิถีชีวิต สามารถปฏิบัติได้ง่าย สามารถ หายใจเข้าออกแบบพุท-โธ จำานวน 15-30 นาที) เดิน