Page 152 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 152

502 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ทักษะการคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเองและช่วยให้  พฤติกรรมระหว่างเรียน เป็นต้น เพื่อให้โปรแกรมที่
                                      [14]
           ผู้เรียนได้ผลิตผลงานที่เป็นรูปธรรม  และการศึกษา  จะพัฒนาทักษะทางปัญญาของนักศึกษาพยาบาลมี
           การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานในการ  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
           พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษา สาขา
           วิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ               ข้อสรุป

           บุรีรัมย์ ผลการวิจัย พบว่าวิธีการเรียนการสอนโดยใช้     ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ต้องการหาคำาตอบว่าทำา
           โครงงานเป็นฐานช่วยให้กลุ่มตัวอย่างสามารถพัฒนา  อย่างไร นักศึกษาพยาบาลที่มีข้อด้อยในด้านทักษะ
           ทักษะการคิด การสร้างความรู้ด้วยตนเอง มีการพัฒนา  ทางปัญญาซึ่งในการเรียนการสอนต้องการแก้ไข

           ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต และส่งผลต่อระดับผล  ปัญหานี้ โดยผ่านการทำาโครงงานนั้นสามารถทำาให้
           การเรียนรู้ของกลุ่มตัวอย่าง ช่วยให้ผู้เรียนได้ผลิตผล  นักศึกษามีทักษะทางปัญญาเพิ่มขึ้นได้อธิบายได้ตาม
           งานที่เป็นรูปธรรม โดยจัดทำาโครงงานพัฒนาความคิด  ภาพที่ 2  ซึ่งสรุปได้ว่าการนำาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

           สร้างสรรค์ตามความสนใจและความถนัดของตนเอง [15]  โดยเลือกใช้วิธีการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานที่อยู่
                จะเห็นได้ว่า การฝึกประสบการณ์โดยใช้    บนพื้นฐานการนำาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการ

           โปรแกรมการใช้โครงงานเป็นฐานสามารถพัฒนา      จัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาพยาบาลได้เรียนรู้
           ทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาล และส่ง    ด้วยตนเองเป็นกลุ่มย่อย ประกอบด้วย การตั้งคำาถาม
           เสริมการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ผ่านการสืบค้น  กับประเด็นปัญหาโรคเรื้อรังที่พบบ่อยในชุมชน การ

           หลักฐานเชิงประจักษ์สำาหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน  สืบค้นความรู้จากหลักฐานเชิงประจักษ์ การสร้าง
           นั้นได้เป็นอย่างดี เนื่องจาก กระบวนการจัดการเรียน  ความรู้ด้วยตนเอง การแลกเปลี่ยนข้อมูลและนำาเสนอ

           การสอนโดยวิธีนี้มีกระบวนการที่กระตุ้นและส่งเสริม  ทำาให้นักศึกษาได้เครื่องมือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ผ่าน
           ให้นักศึกษาได้ตั้งคำาถาม สืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์  การสืบค้นอย่างเป็นระบบ หลังจากนั้นและการนำา
           เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น คิดวิเคราะห์ และพยายาม  ความรู้ไปประยุกต์ใช้บริการสุขภาพเพื่อสังคมซึ่งเป็น

           หาวิธีการที่จะนำาภูมิปัญญาที่ได้จากการสืบค้นไป  กระบวนการที่ผู้เรียนต้องใช้การคิดขั้นสูงที่ซับซ้อน
           ประยุกต์ใช้เพื่อให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนใน  ขึ้น ส่งผลให้นักศึกษามีทักษะทางปัญญาเพิ่มขึ้นอย่าง
           ชุมชน การผ่านกระบวนการเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้  มีนัยสำาคัญทางสถิติช่วยเพิ่มทักษะการแก้ปัญหาให้

           จึงช่วยเพิ่มทักษะทางปัญญาของนักศึกษาพยาบาล  กับผู้เรียน ซึ่งเป็นทักษะที่จำาเป็นอย่างยิ่งสำาหรับการ
           ได้ อย่างไรก็ตาม ในแง่ของระเบียบวิธีวิจัยควรมี  ประกอบวิชาชีพทางการพยาบาล นอกจากนี้ยังส่ง
           การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นระหว่าง  ผลให้ผู้เรียนสามารถนำาความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

           ดำาเนินโปรแกรม โดยการใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่รัดกุม  ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
           มากขึ้น เช่น มีการสุ่มสถานศึกษา สุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้า  ที่พบบ่อยในชุมชน ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความ

           โปรแกรม และมีกลุ่มเปรียบเทียบเป็นต้นควรมีเครื่อง  ดันโลหิตสูง และข้อเข่าเสื่อม โดยเป็นไปตามปัญหา
           มือวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีที่หลาก  สุขภาพที่พบในชุมชน และสอดคล้องกับความต้องการ
           หลาย เช่น การวัดความรู้โดยการสอบ และแบบสังเกต  ของชุมชนอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามเนื่องจากการ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157