Page 147 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 147
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 497
ทุกอย่างจะถือเป็นความลับและนำามาใช้ในการวิจัย ก่อนทดลองมีค่าเฉลี่ย 2.52 คะแนน (ปานกลาง) และ
ครั้งนี้เท่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ด้วย หลังทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.38 คะแนน (ระดับสูง)
สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) และใช้ (ตารางที่ 2)
สถิติ paired t-test ในการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ยทักษะการแก้ปัญหารายข้อหลังได้
คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และอธิบาย รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมทุกข้อโดยราย
วิธีการนำาภูมิปัญญาไปใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ข้อที่มีคะแนนสูงที่สุดสามอันดันอับแรก คือ รับฟัง
ชุมชนโดยใช้การบรรยายเนื้อหา ความคิดเห็นของประชาชนรู้จักวิธีค้นหาภูมิปัญญาที่
ชาวบ้านใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ เลือกใช้ภูมิปัญญา
ผลก�รศึกษ� ท้องถิ่นในการแก้ปัญหาสุขภาพได้สอดคล้องกับวิถี
การศึกษาในครั้งนี้ มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา ชีวิต และส่งเสริมให้บุคคล กลุ่มคนหรือชุมชนให้มี
พยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปี 4 จำานวน 56 คน เพศ ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชนเช่น อสม. และ
หญิง จำานวน 53 คน และเพศชาย จำานวน 3 คน หลัง ผู้นำาชุมชน เป็นต้น (3.60, 3.46, 3.46 และ 3.44 ตาม
จากได้รับโปรแกรมการจัดการเรียนแบบโครงงาน ลำาดับ) ข้อที่ได้คะแนนน้อยที่สุด คือ สืบค้นวิธีการแก้
เป็นฐานต่อทักษะการแก้ปัญหาและการประยุกต์ ปัญหาสุขภาพจากรายงานวิจัยและแนวปฏิบัติ การ
ภูมิปัญญาไปใช้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน พบว่า ค้นหาปัญหาสุขภาพของชุมชน และประเมินคุณภาพ
ในระยะที่ 1 นักศึกษาได้เครื่องมือภูมิปัญญาท้องถิ่น ของข้อมูลโดยใช้เหตุผล (3.23, 3.26 และ 3.32 ตาม
จากการฝึกการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ (1) ลำาดับ) (ตารางที่ 3)
สวดมนต์นับลูกประคำา (2) เหยียบรางไม้ไผ่และนวด คะแนนเฉลี่ยทักษะการแก้ปัญหารายข้อหลัง
กะลา (3) รำาไม้พลอง (4) ฤาษีดัดตน (5) ลูกประคบ ได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมทุกข้อ
สมุนไพร และ (6) การใช้ยางยืด ในระยะที่ 2 ภาย โดยรายข้อที่มีคะแนนสูงที่สุดสามอันดันอับแรก
หลังนำาข้อค้นพบซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นไปประยุกต์ คือ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนรู้จักวิธีค้นหา
ใช้บริการสุขภาพเพื่อสังคมในการฝึกภาคปฏิบัติใน ภูมิปัญญาที่ชาวบ้านใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ เลือก
ชุมชน พบว่า นักศึกษามีค่าคะแนนเฉลี่ยของทักษะ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ปัญหาสุขภาพได้
การแก้ปัญหาหลังได้โปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับ สอดคล้องกับวิถีชีวิต และส่งเสริมให้บุคคล กลุ่มคน
โปรแกรมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.01) โดย หรือชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมฯ
ทักษะการแก้ปัญหา
df t p
Mean SD.
ก่อนทดลอง 2.52 0.47 55 13.29 0.001
หลังทดลอง 3.38 0.34
p < 0.01