Page 150 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 150

500 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           จับปลายยางยืด เท้าขวาเหยียบยางยืด ยกเท้าขวา งอ  ที่ 1 ยักษ์วัดแจ้ง ท่าที่ 2 นั่งราบโน้มตัวกดเข่า และ ท่า
           เข่า 90 องศา ค่อย ๆ กดฝ่าเท้าขวาลงจนถึงพื้นตรง  ที่ 3 ยืนเอนตัวย่อเข่าข้างเดียว ในแต่ละท่าค้างไว้นาน
                                                                 ้
           ตำาแหน่งเดิม ขณะที่กดฝ่าเท้าลง มือจับปลายยางยืด  นับ1-20 ทำาซำา 10 รอบ 2) ใช้ลูกประคบเมล็ดถั่วเขียว
                                                  ้
           ต้องนิ่ง ๆ พร้อมออกแรงต้าน ทำาค้างไว้นับ 1-20 ทำาซำา   แบบอบในไมโครเวฟ นำาเมล็ดถั่วเขียวแห้งใส่ห่อลูก
           10 ครั้ง และเปลี่ยนเป็นเท้าซ้าย ท่าที่ 2 นั่งเก้าอี้ ผูกยาง  ประคบที่ทำาจากผ้าดิบ นำาเข้าอบในไมโครเวฟเป็นเวลา

           ยืดข้อเท้าซ้ายกับขาเก้าอี้ ยกปลายเท้าซ้ายให้ขาเหยียด  3 นาที นำามาตรวจสอบว่าไม่ร้อนเกิน นำาไปประคบ
                              ้
           ตรง ค้างไว้นับ 1-20 ทำาซำา 10 ครั้ง สลับทำาข้างขวาท่า  บริเวณรอบ ๆ เข่าเพื่อบรรเทาอาการปวด กดในแต่ละ
           ที่ 3 ยืนเอามือจับเก้าอี้ ผูกปลายยางยืดกับข้อเท้าซ้าย   จุดนานนับ 1-3 ประคบนาน 5-10 นาที/ครั้ง พบว่าผู้

           และผูกกับขาเก้าอี้เอาปลายเท้าชี้ไปด้านหลัง ขาเหยียด  ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของภาวะข้อเข่าเสื่อม ใน
                                 ้
           ตรงค้างไว้นานนับ 1-20 ทำาซำา 10 ครั้งสลับข้าง ท่าที่   ระดับ 1 และ 2 คัดกรองโดยใช้ WOMAC Scale
           4 ผูกปลายยางยืดด้านหนึ่งกับข้อเท้าขวาและอีกด้าน  จำานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 79.76 ของผู้ป่วยที่มี

           กับข้อเท้าซ้ายแยกเท้าห่างกันฝ่ามือให้รู้สึกว่ายางยืด  ระดับความรุนแรง 1 และ 2 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
           มีความตึง ให้มือสองข้างจับพนักเก้าอี้ เท้าขวายืนอยู่  ความรู้และสามารถสาธิตย้อนกลับได้ถูกต้อง ร้อยละ

           กับที่ยกเท้าซ้ายไปด้านข้างช้า ๆ ให้ขาสองข้างทำามุม  100
                                          ้
           ประมาณ 45 องศา ทำาค้างไว้นับ 1-20 ทำาซำา 20 รอบ ทำา
           สลับข้าง ท่าที่ 5 ยืนแยกเท้าห่างกันหนึ่งฝ่ามือ เหยียบ     อภิปร�ยผล

           บนยางยืดมือจับปลายเชือก ย่อเข่าให้ข้อพับทำามุม 90      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ
           องศา ให้หลังลำาคอและศีรษะเป็นแนวเส้นตรง ค้างไว้  ทักษะการแก้ปัญหาก่อนและหลังได้รับโปรแกรม
                                       ้
           นับ 1-20 กลับไปท่ายืนลำาตัวตรง ทำาซำา 20 รอบพบว่า  การจัดการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานและการ
           ผู้เข้าร่วมโครงการซึ่งเป็นผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรง  ประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำาหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
           ของภาวะข้อเข่าเสื่อม ในระดับ 1 และ 2 คัดกรองโดย  ในชุมชนของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ผลการวิจัย

           ใช้ WOMAC Scale จำานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ   พบว่า นักศึกษามีทักษะการแก้ปัญหาหลังได้รับ
           66.17 ของผู้ป่วยมีระดับความรุนแรง 1 และ 2 ผ่าน  โปรแกรมฯ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัย
           เกณฑ์การประเมินความรู้และสามารถสาธิตย้อนกลับ  สำาคัญทางสถิติ (p < 0.01) เป็นเพราะว่า การวิจัย

           ได้ถูกต้อง ร้อยละ 100                       ครั้งนี้ ได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษา
                ชุมชนที่ 7 เลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเมื่อมี  ได้เรียนรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเองตั้งแต่ขั้นตอน
           ปัญหาสุขภาพโรคข้อเข่าเสื่อมโดยการออกกำาลังกาย  การทำาความเข้าใจประเด็นปัญหาสุขภาพที่ได้รับมอบ

           เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อเข่า  หมายการสืบค้นข้อมูลวิธีการนำาภูมิปัญญาท้องถิ่น
           ด้วยการประยุกต์ท่าฤๅษีดัดตนและการประคบร้อน  มาใช้แก้ปัญหาสุขภาพโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

           ด้วยเมล็ดถั่วเขียวที่มีการปลูกมากในชุมชน มีวิธีการ  เพื่อมายืนยันและโต้แย้งกับความรู้เดิมที่มีอยู่ นำาข้อ
           ดังนี้ 1) คัดเลือกท่าฤาษีดัดตนที่เหมาะสมกับการเพิ่ม  ค้นพบมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกกลุ่มนำา
           ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเข่า จำานวน 3 ท่าได้แก่ ท่า  ความรู้จากการค้นพบมาเปรียบเทียบและตัดสินใจ
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155