Page 151 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 151

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  501




            ร่วมกันในการคัดเลือกวิธีการที่ดีและเหมาะสมที่สุด  พบว่า (1) รับฟังความคิดเห็นของประชาชน (2) รู้จัก
            เพื่อใช้เป็นวิธีการในการทำาโครงการแก้ปัญหาสุขภาพ  วิธีค้นหาภูมิปัญญาที่ชาวบ้านใช้ในการแก้ปัญหา

            ชุมชน และนำาเสนอให้เพื่อนในชั้นเรียนได้เรียนรู้ร่วม  สุขภาพ (3) การเลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้
            กันทำาให้เกิดความรู้ความเข้าใจทางเลือกในการดูแล  ปัญหาสุขภาพได้สอดคล้องกับวิถีชีวิต (4) การส่งเสริม
            สุขภาพที่มีความหลากหลายสอดคล้องกับทฤษฎี     ให้บุคคล กลุ่มคนหรือชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้

            คอนสตรัคติวิสต์ที่อธิบายว่ามนุษย์สร้างความรู้ด้วย  ปัญหาสุขภาพชุมชน เช่น อสม. และผู้นำาชุมชน เป็นต้น
            ตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ซึ่งจะกระตุ้นให้ผู้  มีคะแนนสูงสุดใน 4 อันดับแรก แสดงให้เห็นว่า การ
            เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญาหรือเรียกว่าสกีมา   เรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานสามารถช่วยให้ผู้เรียน

            (schemas) สกีมาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้   สร้างความรู้เกี่ยวกับการนำาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้แก้
            (change) ขยาย (enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้ โดย  ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเอง และนำาความรู้ดังกล่าวไป
            ผ่านกระบวนการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมมาปรับ  ใช้ได้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกันจากการเรียนทฤษฎี

            เข้ากับโครงสร้างทางปัญญาซึ่งต้องใช้การตีความเป็น  ได้แก่ การควบคุมระดับนำ้าตาลในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
            ความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้า  ด้วยการใช้หลักปฏิบัติทางพุทธศาสนา คือสวดมนต์

            กับสิ่งแวดล้อมโดยการเชื่อมโยงระหว่างความรู้เดิม  นับลูกประคำา ทำาสมาธิภาวนาและเดินจงกรม การลด
            และสิ่งที่ต้องเรียนใหม่เป้าหมายของการจัดการเรียน  อาการชาที่เท้าโดยใช้วัสดุที่หาง่ายในชุมชน เช่น การ
            การสอนจะสนับสนุนการสร้างความรู้มากกว่าความ  นวดเท้าด้วยการเหยียบรางไม้ไผ่ การนวดเท้าด้วยการ

            พยายามในการถ่ายทอดความรู้โดยบทบาทผู้สอนจะ   เหยียบกะลามะพร้าว และการแช่เท้านำ้าอุ่นแช่มะกรูด
            เป็นเป็นผู้สร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อกระตุ้นการเรียน  การออกกำาลังกายในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงด้วยการ

            รู้ผ่านประสบการณ์มากกว่าการสอนแบบบรรยาย [7]  รำาไม้พลอง และการออกกำาลังกายเพื่อเพิ่มคุณภาพให้
                 จะเห็นได้ว่าในการเรียนภาคทฤษฎีนั้นผู้สอนได้  กับกล้ามเนื้อที่ทำาหน้าที่ประคองข้อเข่าโดยการออก
            ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ค้นคว้า และสร้างความ  กำาลังกายโดยใช้ยางยืดที่ทำาขึ้นมาเอง การประยุกต์ท่า

            รู้ด้วยตนเอง ทำาให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความ  ฤๅษีดัดตน และการประคบร้อนด้วยลูกประคบ
            หลากหลายของการนำาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการ  สมุนไพรเมล็ดถั่วเขียว สอดคล้องกับการศึกษา
            แก้ปัญหาสุขภาพเป็นการเตรียมความพร้อมด้านความ  กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานใน

            รู้ให้กับนักศึกษาก่อนลงไปฝึกภาคปฏิบัติต่อไป ดังนั้น   รายวิชา ECT2502 ที่ช่วยให้นักศึกษาปริญญาตรีได้
            จะเห็นได้ว่า ในการฝึกภาคปฏิบัตินักศึกษาสามารถนำา  เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จากการได้ลงมือปฏิบัติ
            ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลายมาแลกเปลี่ยน  ค้นคว้าความรู้ใหม่ด้วยตนเองเกี่ยวกับการออกแบบ

            กับภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่มีอยู่ และทำา  เกมการเขียนรายงานโครงงานเพื่อการศึกษา และนำา
            โครงการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชนที่เปิดโอกาสให้ชุมชน  เสนอผลงาน ซึ่งการจัดกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าว

            ได้มีส่วนร่วมในการทางเลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี  ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจใน
            ความเหมาะสมกับชุมชนของตนเอง ดังจะเห็นได้ว่า   กระบวนการออกแบบเกมและสถานการณ์จำาลองได้
            คะแนนรายข้อของการประเมินทักษะการแก้ปัญหาจึง  อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพสามารถพัฒนา
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156