Page 146 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 146

496 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ตารางที่ 1(ต่อ) โปรแกรมการจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานต่อทักษะการแก้ปัญหาและการประยุกต์ภูมิปัญญา
                     ท้องถิ่นสำาหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

            การจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานต่อทักษะการแก้ปัญหาและการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำาหรับ
            ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

                          2.  วิเคราะห์ข้อมูลลงในตารางสำาเร็จรูป PICO               60 นาที
                          3.  สมาชิกกลุ่มนำาเสนอตารางวิเคราะห์ข้อมูลให้เพื่อนในกลุ่มรับฟังและให้   45 นาที
                            สมาชิกวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยของวิธีการที่ใช้แก้ปัญหาโดย
                            ใช้กรอบการวิเคราะห์ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ง่ายต่อการปฏิบัติ
                                    ่
                            2)ต้นทุนตำา 3)ระยะเวลา และ 4) ให้ผลลัพธ์ที่ดี
                          4.  ทบทวนความรู้การเขียนโครงการ                           20 นาที
                          5.  มอบหมายงานให้นักศึกษาไปเขียนโครงการนอกเวลา รายงานการ   10 นาที
                            สืบค้นรายกลุ่ม และเตรียมนำาเสนอผลการเรียนรู้วิธีการนำาภูมิปัญญา
                            ไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพชุมชน

            4             1.  ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำาเสนอผลการเรียนรู้และโครงการกลุ่มละไม่เกิน   150 นาที
            C: Learn to     15 นาที เปิดโอกาสเพื่อนซักถาม 5 นาที
            Communicate   2.  ตัวแทนกลุ่มสะท้อนคิดเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้          20 นาที
                          3.  ผู้สอนสรุปสาระสำาคัญจากการเรียนรู้                    10 นาที
            ขั้นตอนการเรียนการสอน : การเรียนรู้ในภาคปฏิบัติ วิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 ระยะเวลา 4
            สัปดาห์
            S: Learn to Serve
            สัปดาห์ที่ 1   1.  ศึกษาชุมชน
                          2.  ประเมินพฤติกรรมสุขภาพและค้นหาภูมิปัญญาที่ชุมชนในการดูแล
                            สุขภาพในปัญหาสุขภาพที่กลุ่มรับผิดชอบ
            สัปดาห์ที่ 2   1.  นำาความรู้จากการสืบค้นโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาแลกเปลี่ยน
                            กับวิธีการที่ประชาชนใช้ในพื้นที่
                          2.  ตัดสินใจร่วมกันในการเลือกกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพบริบท
                            และสามารถปฏิบัติได้จริง
                          3.  เขียนโครงการแก้ปัญหาสุขภาพ
            สัปดาห์ที่ 3   ดำาเนินแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
            สัปดาห์ที่ 4   ประเมินผลโครงการ และนำาเสนอผลงาน




           bach’s Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยงของ  วิจัยนักศึกษามีสิทธิ์ในการเข้าร่วมหรือปฏิเสธการเข้า

           เครื่องมือ เท่ากับ 0.74 ซึ่งอยู่ในระดับเป็นที่ยอมรับ (α   ร่วมการวิจัยครั้งนี้ และในระหว่างตอบแบบสอบถาม
           = 0.70-0.80)  โดยได้อธิบายวัตถุประสงค์การวิจัย   ผู้เข้าร่วมวิจัยมีสิทธิ์ที่จะยุติการตอบแบบสอบถามเมื่อ
                     [13]
           ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งขอความร่วม  ใดก็ได้ การตอบรับและการปฏิเสธไม่มีผลใด ๆ ต่อผล
           มือในการเข้าร่วมทำากิจกรรมในทุกขั้นตอนของการ  การเรียนที่ผู้เข้าร่วมวิจัยพึงจะได้รับ คำาตอบและข้อมูล
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151