Page 144 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 144

494 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 จำานวน 13 ข้อ   คะแนนเป็น 3 ช่วง ได้แก่ 4.00-9.33 คะแนน หมาย
                                                           ่
           คำาตอบแบบลิเคิร์ตสเกล ให้เลือกตอบ 4 ระดับ ได้แก่   ถึง ตำา 9.34-14.67 คะแนน หมายถึงปานกลาง และ
           1-4 คะแนนหมายถึง น้อยที่สุด น้อยมาก และมาก  14.68-20.00 หมายถึง สูง และนำาข้อมูลในส่วนวิธี
           ที่สุด ตามลำาดับ คะแนนรวมแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่   การนำาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพมา
           คะแนนระหว่าง 1.00-2.00 คะแนน หมายถึง ระดับ  บรรยายเนื้อหา
            ่
           ตำา คะแนนระหว่าง 2.01-3.00 คะแนน หมายถึง ปาน     ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่
           กลาง และคะแนนระหว่าง 3.01-4.00 คะแนน หมาย   โปรแกรมการจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
           ถึง ระดับสูง                                ต่อทักษะการแก้ปัญหาและการประยุกต์ภูมิปัญญา

                2.  แบบวิเคราะห์รายงานการนำาภูมิปัญญาท้อง  ท้องถิ่นสำาหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน ดังต่อไปนี้
           ถิ่นไปใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน โดยประยุกต์  (ตารางที่ 1)
           จากแบบประเมินการจัดทำาโครงการ ของฝ่ายวัดและ     การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ การศึกษา

           ประเมินผล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท   นี้ได้นำาเครื่องมือโปรแกรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้
           จำานวน 5 ด้าน ประกอบด้วย 2.1 ปัญหาสุขภาพที่มา  โครงงานเป็นฐาน และเครื่องที่ใช้เก็บข้อมูลไปให้ผู้

           จากการประเมินสุขภาพชุมชนด้วยวิธีการและแหล่ง  เชี่ยวชาญด้านการสอนพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
           ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ได้แก่ (1) การใช้แบบสอบถาม (2)   จำานวน 2 ท่าน และการพยาบาลอนามัยชุมชน จำานวน
           การสัมภาษณ์ (3) การสังเกต (4) การใช้ข้อมูลของ  1 ท่าน ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content

           หน่วยรับบริการของชุมชน 2.2 การวิเคราะห์หาสาเหตุ  Validity Index: CVI) ผู้เชี่ยวชาญสามารถประเมิน
           ของปัญหาสุขภาพ ได้แก่ (1) สาเหตุที่มาจากปัจจัยส่วน  ได้ 4 ระดับ ได้แก่ ไม่สอดคล้อง สอดคล้องบางส่วน

           บุคคล (2) พฤติกรรมสุขภาพ (3) สังคม เศรษฐกิจ (4)   ค่อนข้างสอดคล้องและมีความสอดคล้องมาก มีค่า
           ระบบบริการสุขภาพในชุมชน 2.3 วิธีการนำาภูมิปัญญา  คะแนน 1-4 คะแนน ตามลำาดับ โดยข้อที่ได้คะแนน 3
           ท้องถิ่นไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพ ได้แก่ (1) ประโยชน์ (2)   และ 4 เท่านั้นที่แสดงถึงเนื้อหามีความสอดคล้อง ได้

           ขั้นตอน (3) วิธีการ (4) ข้อควรระวัง 2.4 เลือกวิธีการ  ค่าความตรงของเนื้อหาของโปรแกรมฯ เท่ากับ 0.90
           แก้ปัญหาที่ดีที่สุด ได้แก่ (1) คุณภาพของหลักฐาน  และความตรง (content validity) ของเครื่องมือที่ใช้
           เชิงประจักษ์ (2) ความยาก/ง่ายต่อการนำาไปใช้ (3)   ในการเก็บข้อมูล เท่ากับ 0.90 เช่นกัน ซึ่งถือว่ามีความ

                                                                                             [12]
           ประหยัด (4) ให้ผลลัพธ์ที่ดี และ 2.5 การประเมินผล   ตรงของเนื้อหาเพราะควรมีค่าตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป
           ได้แก่ (1) อธิบายผลลัพธ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์   ได้นำาแบบสอบถามดังกล่าวไปทดสอบความเชื่อมั่น
           (2) มีการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ (3) มีการประเมิน  ชนิดความสอดคล้องภายใน (internal consistency

           ประสิทธิภาพโครงการและ (4) มีการให้ข้อเสนอแนะใน  reliability) กับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 หลักสูตร
           การปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดการให้คะแนนแต่ละ   พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา จำานวน

           ด้าน องค์ประกอบของแต่ละด้านมีคะแนนเท่ากับ 1   30 คน ที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง
           คะแนน แต่ละด้านถ้ามีองค์ประกอบครบได้คะแนน   โดยการคำานวณหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
           4 คะแนน คะแนนรวมในช่วง 4-20 คะแนน แบ่ง      ทักษะการแก้ปัญหาโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Cron-
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149