Page 142 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 142
492 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
ประจักษ์ 3) การสร้างความรู้การนำาภูมิปัญญาท้อง ที่ 1)
ถิ่นมาใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพจากการแลกเปลี่ยน
ความรู้กับสมาชิกในกลุ่มและ 4) การนำาเสนอ ขั้น วัสดุ
ตอนที่ 2 การลงมือปฏิบัติจริงตามความเหมาะสม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ
สอดคล้องกับบริบทของชุมชน (การฝึกภาคปฏิบัติ) นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 23 วิทยาลัย
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้ พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท ปีการศึกษา 2560
ปัญหาก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมฯ วิธีการ และ จำานวน 56 คน
ผลของการนำาภูมิปัญญาไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพชุมชน การพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างการวิจัยนี้ได้
ขออนุมัติความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรม
ระเบียบวิธีศึกษ� ในการวิจัยในมนุษย์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราช-
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนนี ชัยนาท เลขที่ BCNC-IRB 2-11-2560 ลงวันที่
(quasi-experimental design) แบบกลุ่มเดียววัดผล 15 ตุลาคม 2560
เปรียบเทียบก่อน-หลังการทดลองเพื่อเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างได้รับโปรแกรมการจัดการเรียน
ความคิดในการนำาภูมิปัญญาไปใช้ในการแก้ปัญหา การสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน โดยโปรแกรมแบ่ง
สุขภาพชุมชนก่อนและหลังการทดลองและอธิบาย ออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การเรียนในภาค
วิธีการนำาภูมิปัญญาไปใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพ ทฤษฎีในการเรียนการสอนรายวิชา การพยาบาล
ประชาชน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน 2560 - ครอบครัวและชุมชน 2 จำานวน 12 ชั่วโมง โดยฝึก
มกราคม 2561 โดยมีกรอบแนวคิดการวิจัยดังนี้ (ภาพ การสืบค้นความรู้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และ
โปรแกรมการจัดการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
วิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 (ทฤษฎี)
1) Q: Learn to Question (การเรียนรู้ประเด็นปัญหาที่สนใจ
โดยการตั้งคำาถาม)
2) S: Learn to Search (การสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ 1. ทักษะการแก้ปัญหา
การนำาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการแก้ปัญหาสุขภาพโดย 2. วิธีการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์) ไปใช้ในการแก้ปัญหาโรคเรื้อรังใน
3) C: Learn to Construct (การสร้างความรู้จากการแลก ชุมชน
เปลี่ยนความรู้กับบุคคลอื่น)
4) C: Learn to Communicate (การสรุปข้อมูลและนำาเสนอ)
วิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 (ปฏิบัติ)
5) S: Learn to Serve (การประยุกต์ต่อยอดความรู้เพื่อสังคม)
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย