Page 130 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 130

480 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ธูปเทียนมาบูชาครูเพื่อให้ครูรับเป็นศิษย์ บ่งบอกถึง  มีการจัดยาให้อีก 30 วัน จนผู้ป่วยหาย หรือปฏิเสธ
           ความเชื่อเรื่องวิญญาณและกรรมของคนภาคตะวัน-   การรักษาต่อ 2) ตำารับยาล้างหรือยาปิดปากหม้อ ให้

           ออกเฉียงเหนือ                               รับประทานเมื่อหายขาดแล้ว ซึ่งองค์ความรู้ของแต่ละ
                หมอพื้นบ้านเชื่อว่าโรคริดสีดวงทวารเป็นโรค  คนไม่เหมือนกันโดยหมอพื้นบ้านบางรายอาจจะมี
                                               ้
           ที่เกิดจากความผิดปกติของธาตุทั้งสี่คือ ดิน นำา ลม   การตั้งตำารับใหม่ หรือ บางรายก็ใช้ตำารับเดิมแต่ให้
           ไฟ และแสดงออกทางธาตุดิน โดยเริ่มจากมีอาการ  รับประทานไม่เกิน 3-7 วัน
           ถ่ายลำาบาก ปวดบริเวณรูทวาร และเวลาถ่ายอุจจาระ     หมอพื้นบ้านมีการติดตามผลการรักษาโดยการ
           มักจะมีเลือดปนหรือไหลออกมาด้วย สามารถแบ่ง   ยึดหลักของความสะดวกของผู้ป่วยเป็นหลัก หาก

           ออกได้เป็นสองประเภท คือ 1) ริดสีดวงทวารด้านใน   ผู้ป่วยสะดวกในการมาพบก็จะให้มาพบ หรือหากผู้
           คือ โรคริดสีดวงทวารที่มีอาการถ่ายลำาบาก มีเลือด  ป่วยไม่สะดวกในการมาพบก็จะใช้การติดต่อสอบถาม
           ปนออกมาเวลาถ่ายอุจจาระ 2) ริดสีดวงทวารด้าน  อาการผ่านทางโทรศัพท์เพื่อเป็นการติดตามผลการ

           นอก คือ โรคริดสีดวงทวารที่มีพยาธิสภาพบริเวณ  รักษา โดยหมอพื้นบ้านจะมีการติดตามผลการรักษา
           รูทวาร โดยอาจจะมีลักษณะของติ่งเนื้อที่ยื่นออกมา  ครั้งที่ 1 หลังจากการรับประทานยาไปแล้ว 7-10 วัน

           คล้ายเดือยไก่ เรียกว่า “ริดสีดวงทวารหงอนไก่’’ หรือ   และครั้งที่ 2 เมื่อครบ 30 วัน หากครบกำาหนด 30 วัน
           อาจจะมีอาการบวมโดยรอบรูทวารคล้ายกลีบมะเฟือง   แล้วผู้ป่วยยังไม่หายก็จะมีการติดตามผลการรักษาทุก
           เรียกว่า “ริดสีดวงทวารกลีบมะเฟือง’’ อาการมักเริ่ม  30 วัน จนผู้ป่วยหาย หรือปฏิเสธการรักษาต่อ โดยการ

           จากท้องอืดท้องเฟ้อ ปวดบริเวณท้องหรือบั้นเอว ท้อง  ติดตามผลการรักษานี้ถือเป็นการใช้องค์ความรู้ของ
           ผูก ถ่ายอุจจาระลำาบาก จนกลายเป็นถ่ายอุจจาระมี  หมอพื้นบ้านที่สั่งสมมาจากประสบการณ์การรักษา

           เลือดปนหรือมีเลือดไหลออกมา จนกระทั่งมีติ่งเนื้อ  ในการวิเคราะห์ว่าหากผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นหรือแย่ลง
           หรืออาการบวมโดยรอบรูทวารในที่สุด ซึ่งสาเหตุ   นั้นมาจากสาเหตุใด อีกทั้งการติดตามผลการรักษา
           ส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมในการดำาเนินชีวิตของ   นั้นถือเป็นพัฒนาการด้านการรักษาของหมอพื้นบ้าน

           ผู้ป่วยเอง                                  เนื่องจากในอดีตหมอพื้นบ้านจะทำาเพียงแค่การจ่าย
                การวินิจฉัยโรคจะเริ่มจากการซักประวัติผู้ป่วย   ยารักษาให้กับผู้ป่วยแล้วจากนั้นก็ให้ผู้ป่วยนำายา
           จากนั้นจะจัดยาให้ผู้ป่วยไปรับประทาน หากผู้ป่วยมี  กลับไปต้มกินที่บ้าน  หากผู้ป่วยหายก็จะไม่มารับยา

           อาการดีขึ้นหมายความว่าผู้ป่วยได้เป็นโรคริดสีดวง  อีก แต่ถ้าหากผู้ป่วยยังไม่หายก็จะมารับยาเพิ่ม โดย
           ทวารจริง โดยส่วนมากจะจัดยาให้ผู้ป่วยรับประทาน   ไม่มีการนัดติดตามผลการรักษาหรือโทรศัพท์เพื่อ
           3-5 วัน และจะเริ่มการรักษาโดยการซักประวัติผู้ป่วย  ติดตามผลการรักษา

           เพิ่มเติม หากผู้ป่วยยินยอมจะทำาการรักษา ก็จะมีการ     โดยส่วนใหญ่หมอพื้นบ้านจะมีการคิดค่าครูเพื่อ
           ตั้งขันธ์ 5 โดยหมอพื้นบ้านจะจัดเตรียมไว้ให้ จัดยาให้  ประกอบการไหว้ครูในการตั้งขันธ์ 5 โดยจะไม่เกิน 99

           ผู้ป่วยไปรับประทาน โดยส่วนมากมี 2 ตำารับ คือ 1)   บาท เงินส่วนนี้หมอพื้นบ้านบางรายจะนำาไปทำาบุญ
           ตำารับยารักษาริดสีดวงทวาร ขนาดรับประทาน 15-30   หรือบางรายก็นำาไปใช้จ่ายในครัวเรือน โดยขึ้นอยู่กับ
           วัน หากครบกำาหนด 30 วันแล้วผู้ป่วยยังไม่หายก็จะ  ครูผู้ส่งต่อภูมิปัญญาว่าต้องนำาไปทำาบุญเท่านั้นหรือ
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135