Page 127 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 127

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  477




            ทั่วทุกภาคของประเทศไทย แต่พื้นที่ที่มีความหนา  มีการศึกษาครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ
            แน่นของหมอพื้นบ้านสูงที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียง   เชื่อมโยงระหว่างแบบแผนการรักษาของหมอพื้นบ้าน

            เหนือ [2]                                   ต่อการอธิบายโรคและการรักษาโรคริดสีดวงทวารของ
                 จังหวัดศรีสะเกษประกอบด้วย 4 ชาติพันธุ์   หมอพื้นบ้าน และศึกษาองค์ความรู้ในการรักษาโรค
            ได้แก่ เขมร ลาว ส่วย และเยอ โดยประชาชนทุก   ริดสีดวงทวารของหมอพื้นบ้าน

            ชาติพันธุ์มีการใช้ศาสตร์การดูแลสุขภาพของการ
            แพทย์แผนปัจจุบันร่วมกับการแพทย์พื้นบ้าน และ             ระเบียบวิธีศึกษ�
            ส่วนใหญ่ยังมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแล     การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualita-

                                                                   [5]
            รักษาสุขภาพ อีกทั้งยังเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้อง  tive research)  เก็บข้อมูลโดยการอภิปรายกลุ่ม การ
            ถิ่นและการแพทย์พื้นบ้าน แต่ถึงกระนั้นการถ่ายทอด   จัดการความรู้ และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งคัดเลือก
            ภูมิปัญญาด้านการดูแลรักษาสุขภาพกลับอยู่ในระดับ  กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเป็นหมอพื้นบ้านประเภท

            ที่น้อยมาก หมอพื้นบ้านประเภทหมอยาสมุนไพร    หมอยาสมุนไพร ซึ่งพร้อมจะเปิดเผยข้อมูล จำานวน
            ที่ผ่านการรับรองการขึ้นทะเบียนเป็นหมอพื้นบ้าน  19 คน ระยะเวลาในการศึกษาระหว่างเดือน ปี พ.ศ.

            จังหวัดศรีสะเกษ ส่วนใหญ่มีความชำานาญในการรักษา  2560 โดยมีนิยามศัพท์ ดังนี้
            โรคด้วยกันหลายโรค เช่น โรคไข้ โรคตับอักเสบ โรค
                                                   [3]
            ไตอักเสบ โรคกระเพาะอาหาร และโรคริดสีดวงทวาร    นิย�มศัพท์เฉพ�ะ
            ซึ่งเป็นโรคที่หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่มีความชำานาญใน     องค์ความรู้ หมายถึง ความรู้ในการกระทำาสิ่ง
            การรักษาโรคนี้เป็นหนึ่งในความชำานาญในการรักษา  ใดสิ่งหนึ่งโดยจำาเพาะ เป็นหลักความคิดรวบยอดเชิง

            โรคของตน ที่ได้ทำาการรักษาผู้ป่วยมาแล้วเป็นจำานวน  แนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการ ซึ่งได้มาจากการสั่งสม
            มาก โรคริดสีดวงทวารถือเป็นโรคที่มีการบันทึกไว้ที่  ประสบการณ์ การวิเคราะห์สังเคราะห์ จนข้อมูลเหล่า
            เก่าแก่ที่สุด โดยพบว่ามีการบันทึกไว้ในสมัยอียิปต์  นั้นตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ [6-7]

            โบราณราว 1,700 ปี ก่อนคริสต์กาล  และยังถือเป็น     แบบแผนการรักษา หมายถึง ขนบธรรมเนียม
                                                                                              [8]
            โรคที่พบบ่อยที่สุดโรคหนึ่งโดยพบถึงร้อยละ 50 ในผู้  ที่กำาหนดใช้หรือที่เคยประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา
            ที่มีอายุ 30 ปี ขึ้นไป แต่ผู้ป่วยส่วนมากจะเก็บโรคนี้ไว้  ที่ใช้ในการรักษาคนที่รู้สึกไม่สบายเพราะความเจ็บไข้

                                                                                              [9]
            เป็นความลับส่วนตัวเป็นเวลานานก่อนไปพบแพทย์ [4]   เจ็บป่วย รวมถึงความบกพร่องหรือผิดปกติทางจิต
                 ดังนั้น เพื่อรวบรวม อนุรักษ์ และต่อยอด  ของหมอพื้นบ้านที่ใช้รักษาผู้ป่วย
            ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการดูแลสุขภาพของหมอ

            พื้นบ้านจังหวัดศรีสะเกษ และเชื่อมโยงหลักแนวคิด  วัสดุ
            ทางด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์พื้น-      เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive

            บ้านกับวิถีชีวิตและแบบแผนการรักษาของหมอพื้น-  sampling) โดยเป็นหมอพื้นบ้านประเภทหมอยา
            บ้านจังหวัดศรีสะเกษ และส่งเสริมการใช้ศาสตร์การ  สมุนไพรในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษที่มีความชำานาญใน
            แพทย์พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพอีกทางหนึ่ง จึงได้  การรักษาโรคริดสีดวงทวาร และได้รับการขึ้นทะเบียน
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132