Page 128 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 128

478 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           หรือต่ออายุทะเบียนหมอพื้นบ้านจังหวัดศรีสะเกษ ใน  ของสมุนไพร วิธีการปรุงยา ขนาดรับประทาน/ขนาด
           ปี 2560 ซึ่งพร้อมจะเปิดเผยข้อมูล จำานวนทั้งสิ้น 19   ที่ใช้ วิธีรับประทาน/วิธีใช้ ระยะเวลาการใช้ยารักษา

           คน ซึ่งมีภูมิลำาเนากระจายตัวอยู่ในพื้นที่ทั้ง 4 กลุ่ม  อาการ/ผลข้างเคียงของการใช้ยา ข้อห้ามใช้/ข้อควร
           ชาติพันธุ์ จากหมอพื้นบ้านที่ได้รับการขึ้นทะเบียนหรือ  ระวังการใช้ยา ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัติระหว่างการใช้
           ต่ออายุทะเบียนหมอพื้นบ้านจังหวัดศรีสะเกษ ในปี   ยา และอาหารแสลงที่ห้ามรับประทานระหว่างการใช้

           2560 ทั้งหมด 243 คน เก็บข้อมูลโดยใช้การอภิปราย  ยา
           กลุ่ม (focus group discussion) [10-11]  การจัดการ     2)  แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth inter-
           ความรู้ (knowledge management) [6-7,11]  และการ  view) มีประเด็นการสัมภาษณ์ ดังนี้

           ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) ใน     ประเด็นที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของหมอพื้นบ้าน
           การเก็บข้อมูลและนำาข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อศึกษา  ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลด้านการสืบทอด
           องค์ความรู้เชิงประวัติของหมอพื้นบ้าน รวมไปถึง  องค์ความรู้/ภูมิปัญญา ได้แก่ แรงจูงใจในการเป็นหมอ

           กระบวนการในการรักษาโรค ตำารับยาที่ใช้ในการ  พื้นบ้าน การได้รับสืบทอดองค์ความรู้ และการส่งต่อ/
           รักษาโรค และข้อคิดเห็นเพิ่มเติมในการส่งเสริมการ  สืบสานองค์ความรู้

           ใช้ประโยชน์ แลกเปลี่ยนความรู้ตำารับยาสมุนไพร การ     ประเด็น 2 ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการรักษาโรค
           อนุรักษ์ และเผยแพร่ตำารับยาสมุนไพรจากภูมิปัญญา  ประกอบด้วย คำานิยามโรค อาการดำาเนินโรค ขั้นตอน
           ท้องถิ่น ของหมอพื้นบ้านจังหวัดศรีสะเกษ      การวินิจฉัยโรค ขั้นตอนการรักษาโรค การติดตามผล

                                                       การรักษาโรค และการคิดค่ารักษา
           วิธีก�รศึกษ�                                    ประเด็นที่ 3 ตำารับยาที่ใช้ในการรักษาโรค


                1.  สร้างเครื่องมือ โดยนำาแนวทางในการรักษา  ประกอบด้วย ชื่อตำารับ สรรพคุณตำารับ แหล่งที่มา
           โรคริดสีดวงทวารของหมอพื้นบ้านจังหวัดศรีสะเกษ   ของสมุนไพร วิธีการปรุงยา ขนาดรับประทาน/ขนาด
           มาสร้างเป็นหัวข้อในการอภิปรายกลุ่ม และข้อคำาถาม  ที่ใช้ วิธีรับประทาน/วิธีใช้ ระยะเวลาการใช้ยารักษา

           ในการสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งเครื่องมือการวิจัยผ่าน  อาการ/ผลข้างเคียงของการใช้ยา ข้อห้ามใช้/ข้อควร
           การตรวจสอบเชิงเนื้อหา (content validity) จากผู้  ระวังการใช้ยา ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัติระหว่างการใช้
           เชี่ยวชาญ ดังนี้                            ยา และอาหารแสลงที่ห้ามรับประทานระหว่างการใช้

                1)  แนวทางการอภิปรายกลุ่ม และการจัดการ  ยา
           ความรู้ มีประเด็นการอภิปราย ดังนี้              ประเด็นที่ 4 ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมในการส่งเสริม
                ประเด็นที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการรักษา  การใช้ประโยชน์ แลกเปลี่ยนความรู้ตำารับยาสมุนไพร

           โรค ประกอบด้วย คำานิยามโรค อาการดำาเนินโรค ขั้น  การอนุรักษ์ และเผยแพร่ตำารับยาสมุนไพรจาก
           ตอนการวินิจฉัยโรค ขั้นตอนการรักษาโรค และการ  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย แนวทางการส่งเสริม

           ติดตามผลการรักษาโรค                         การปลูกพืชสมุนไพร และการส่งเสริมการใช้ประโยชน์
                ประเด็นที่ 2 ตำารับยาที่ใช้ในการรักษาโรค   ตำารับยาสมุนไพรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น แนวทาง
           ประกอบด้วย ชื่อตำารับ สรรพคุณตำารับ แหล่งที่มา  ในการแลกเปลี่ยนความรู้สูตรตำารับยาสมุนไพรจาก
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133