Page 129 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 129

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  479




            ภูมิปัญญาท้องถิ่นระหว่างหมอพื้นบ้าน และแนวทาง  และการสัมภาษณ์เชิงลึก เปรียบเทียบเชื่อมโยงข้อมูล
            ในการอนุรักษ์และเผยแพร่สูตรยาสมุนไพรจาก     กับแหล่งข้อมูลด้านเอกสาร

            ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                 2.  การรวบรวมข้อมูล โดยได้รวบรวมข้อมูล               ผลก�รศึกษ�
            จากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้                            การศึกษาเรื่ององค์ความรู้การรักษาโรคริดสีดวง

                 1) รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (documentary   ทวารของหมอพื้นบ้านมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ
            research) การวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาแนวทาง แนวคิด   เชื่อมโยงระหว่างแบบแผนการรักษาของหมอพื้นบ้าน
            ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัย บทความ   ต่อการอธิบายโรคและการรักษาโรคริดสีดวงทวารของ

            วารสารวิชาการ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และสืบค้นข้อมูลจาก  หมอพื้นบ้าน และเพื่อศึกษาองค์ความรู้ในการรักษา
            อินเตอร์เน็ต                                โรคริดสีดวงทวารของหมอพื้นบ้าน ซึ่งหมอพื้นบ้าน
                 2) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการอภิปราย    ประเภทหมอยาสมุนไพรในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษที่

            กลุ่ม และการจัดการความรู้ โดยเชิญหมอพื้นบ้านที่  มีความชำานาญในการรักษาโรคริดสีดวงทวารทั้ง 19
            มีความชำานาญในการรักษาโรคริดสีดวงทวารทั้ง 19   คน ได้ให้ข้อมูลซึ่งผ่านการรวบรวม ตรวจสอบ และ

            คน โดยแบ่งผู้ร่วมการอภิปรายออกเป็น 2 กลุ่ม มา  วิเคราะห์ ได้เป็นผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ ดังนี้
            อภิปรายกลุ่มและจัดการความรู้ที่ได้จากการอภิปราย      1.  การศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างแบบแผน
            ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารส่งเสริมสุขภาพ สำานักงาน  การรักษาของหมอพื้นบ้านต่อการอธิบายโรคและ

            สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ                    การรักษาโรคริดสีดวงทวารของหมอพื้นบ้านจังหวัด
                 3) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิง  ศรีสะเกษ

            ลึก โดยได้สัมภาษณ์หมอพื้นบ้านที่มีความชำานาญใน     จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่า หมอพื้นบ้านที่
            การรักษาโรคริดสีดวงทวาร จำานวนทั้งสิ้น 5 คน จาก  มีความชำานาญในการรักษาโรคริดสีดวงทวารส่วนมาก
            หมอพื้นบ้านที่มีความชำานาญในการรักษาโรคริดสีดวง  มีแรงจูงใจในการเป็นหมอพื้นบ้านจากการได้ใช้ชีวิต

            ทวาร ทั้งหมด 19 คน                          ร่วมกับผู้ที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ หรือได้ติดตามผู้ที่
                 3.  การตรวจสอบและการวิเคราะห์ข้อมูล    ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ไปในที่ต่าง ๆ เช่น การไปเก็บ
                 1)  การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (trian-  ยาสมุนไพร และการติดตามไปรักษาผู้ป่วย จึงเกิด

            gulation) ด้านข้อมูล โดยได้รวบรวมข้อมูลจากต่าง  ความศรัทธาและกลายเป็นแรงจูงใจในการเป็นหมอ
            สถานที่ ต่างแหล่งที่มา ต่างเวลา และต่างบุคคล ด้าน  พื้นบ้าน และโดยส่วนมากได้รับสืบทอดองค์ความรู้
            ผู้วิจัย โดยเปลี่ยนตัวผู้สังเกตและผู้สัมภาษณ์ และ  จากหมอพื้นบ้านผู้เป็นเจ้าขององค์ความรู้ที่มีความ

            ด้านวิธีการรวบรวมข้อมูล โดยมีการรวบรวมข้อมูล  เกี่ยวดองเป็นญาติของตน หรือเกี่ยวดองกันทางสาย
            ด้านเอกสารจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง และรวบรวม  เลือด  อีกทั้งยังมีการส่งต่อองค์ความรู้สู่ลูกหลานของ

            ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ร่วมกับการสนทนากลุ่ม    ตน แต่ก็มีบางส่วนที่ได้ส่งต่อให้กับผู้ที่สนใจที่ได้มา
                 2)  การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความ (inter-  ขอสืบสานองค์ความรู้ต่อไป โดยการขอเป็นศิษย์นั้น
            pretation) จากการอภิปรายกลุ่ม การจัดการความรู้   ต้องมีการยกครูหรือขึ้นครูด้วยการนำาขันใส่ดอกไม้
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134