Page 117 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 117

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  467




            ผู้สังเกตการณ์ 3 คน ที่มีคุณสมบัติดังนี้ (1) เป็น         ผลก�รศึกษ�
            นักดนตรีบำาบัดหรือนักศึกษาดนตรีบำาบัด (2) มี     1.  ผลการวิเคราะห์ความถี่การมีปฏิสัมพันธ์

            ประสบการณ์ในการบำาบัดเด็กที่เป็นออทิซึมเพื่อ  ร่วมทางสังคมจำาแนกตามองค์ประกอบของดนตรี
            เป้าหมายการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม (3) มี  และกิจกรรมดนตรีบำาบัดของกรณีศึกษา 3 ราย
            ประสบการณ์ทางดนตรีมากกว่า 5 ปี และ (4) ผ่าน        1.1 กรณีศึกษา A

            การเรียนทฤษฎีดนตรี ประวัติศาสตร์ดนตรี และ          ผลการวิเคราะห์ความถี่การมีปฏิสัมพันธ์
            ปฏิบัติดนตรีในระดับปริญญาตรี ซึ่งผู้สังเกตการณ์  ร่วมทางสังคมจำาแนกตามองค์ประกอบของดนตรี
            ทุกคนจะต้องมีความเข้าใจในการใช้แบบบันทึกข้อมูล  ของกรณีศึกษา A พบว่า องค์ประกอบของดนตรีที่ส่ง

            สำาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้อย่างสอดคล้อง  เสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของกรณีศึกษา
            กัน การวิจัยครั้งนี้ดำาเนินการทดสอบความสอดคล้อง  A มากที่สุดคือ องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง
            ระหว่างผู้สังเกตการณ์ โดยการนำาเทปวิดีโอการ  (f = 46) รองลงมาคือองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง (f =

            บำาบัด 1 ครั้ง มาให้ผู้สังเกตการณ์แต่ละท่านทดลอง  42) และองค์ประกอบด้านสีสันของเสียง (f = 24) เมื่อ
            บันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึก เพื่อตรวจสอบความ  พิจารณาความถี่ของการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม

            สอดคล้องของผลการสังเกต และนำาผลของการสังเกต  จำาแนกตามกิจกรรมดนตรีบำาบัด พบว่า กิจกรรม
            มาทำาความเข้าใจให้สอดคล้องกัน               ดนตรีบำาบัดที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม
                 4.  ดำาเนินการสังเกตและบันทึกข้อมูล    ของกรณีศึกษา A มากที่สุดคือ กิจกรรมการร้องเพลง

            การให้ดนตรีบำาบัดในกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 ราย ผ่าน  ร่วมกับการเคลื่อนไหว (f = 43) รองลงมาคือกิจกรรม
            เทปวิดีโอ จำานวนคนละ 8 ครั้ง จากนั้นนำาข้อมูล   การร้องเพลงร่วมกับการเล่นเครื่องดนตรี (f = 38) และ

            ที่บันทึกได้มาทำาการวิเคราะห์ความถี่ และร้อยละ   กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรี (f = 17) ดังรายละเอียด
            ผลการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของเด็กที่เป็น  ในตารางที่ 2
            ออทิซึมจำาแนกตามองค์ประกอบของดนตรีที่ใช้ใน       เมื่อพิจารณากิจกรรมดนตรีจำาแนกตามองค์

            การบำาบัด                                   ประกอบของดนตรีที่ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วม
                                                        ทางสังคมในกรณีศึกษา A โดยนำาเสนอผลเฉพาะ
            ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
                                                        กิจกรรมดนตรีที่มีผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทาง
                 การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยนี้ ใช้การ  สังคมมากที่สุดเรียงลงไป 5 อันดับ ดังต่อไปนี้ 1) ใน
            วิเคราะห์สถิติเชิงบรรยาย ประเภทการแจกแจง    กิจกรรมการร้องเพลงร่วมกับการเคลื่อนไหว องค์
            ความถี่ (frequency) เพื่อวิเคราะห์จำานวนครั้งของ  ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง และองค์ประกอบ

            การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของเด็กที่เป็นออทิซึม   ด้านเนื้อเพลง ซึ่งมีความถี่เท่ากัน (f = 17) ส่งผลต่อ
            จำาแนกตามองค์ประกอบของดนตรีและกิจกรรม       ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุด รองลงมาคือองค์

            ดนตรีบำาบัด ซึ่งมีการวิเคราะห์แยกเป็นรายกรณี และ  ประกอบด้านอัตราจังหวะ (f = 6) 2) ในกิจกรรมการ
            การวิเคราะห์จัดอันดับความถี่ระหว่างกรณีศึกษาทั้ง   ร้องเพลงร่วมกับการเล่นเครื่องดนตรี องค์ประกอบ
            3 ราย                                       ด้านเนื้อเพลง (f = 12) ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122