Page 121 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 121
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 471
ซึ่งมีความถี่เท่ากัน เป็นองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการ ด้านระดับเสียง/ทำานอง 2) องค์ประกอบด้านเนื้อเพลง
มีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุด รองลงมาคือ และ 3) องค์ประกอบด้านสีสันของเสียง จากผลการ
องค์ประกอบด้านสีสันของเสียง (f = 3) รายละเอียด วิจัยองค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานองของบทเพลง
(ตารางที่ 4) เป็นองค์ประกอบที่มีผลต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์
2. ผลการเปรียบเทียบอันดับความถี่ของการ ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึมมากที่สุดเป็นอันดับแรก
มีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมจำาแนกตามองค์ประกอบ ซึ่งระดับเสียง/ทำานอง จัดเป็นองค์ประกอบสำาคัญที่
ของดนตรีและกิจกรรมดนตรีบำาบัดของกรณีศึกษา แสดงถึงท่วงทำานอง อารมณ์ และสีสันของระดับเสียง
ทั้ง 3 ราย ที่ร้อยเรียงกันจนเกิดบทเพลง หากแนวทำานองดนตรีมี
ผลการเปรียบเทียบอันดับความถี่ของการมี ความชัดเจนจะส่งผลให้เด็กออทิซึมรับสาร ซึ่งสื่อออก
ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม 3 อันดับแรก จำาแนกตาม มาในรูปแบบของเสียงได้ง่ายขึ้นซึ่งสอดคล้องกับผล
[24]
องค์ประกอบของดนตรีของกรณีศึกษาทั้ง 3 ราย พบ งานวิจัยของ Kalas ที่พบว่าการใช้แนวทำานองของ
ว่า องค์ประกอบของดนตรีโดยส่วนใหญ่ที่ส่งเสริมการ ดนตรีที่มีความเรียบง่าย ชัดเจน และคาดเดาได้ง่าย
มีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในกรณีศึกษาทั้ง 3 ราย นั้น ทำาให้เด็กที่เป็นออทิซึมหันมามีปฏิสัมพันธ์ร่วม
คือ องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานองของบทเพลง มากขึ้น ทำานอง ซึ่งคือการนำาเอาระดับเสียงต่าง ๆ มา
รองลงมาคือองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง และองค์ เรียงร้อยต่อกันอย่างมีระบบและแบบแผนนั้น อาจ
ประกอบด้านสีสันของเสียง ตามลำาดับ เมื่อพิจารณา มีส่วนช่วยให้เด็กที่เป็นออทิซึมสามารถเข้าใจและ
อันดับความถี่องค์ประกอบของดนตรีที่ส่งเสริมการมี ประมวลผลของข้อมูลทางเสียงที่รับเข้าไปได้ง่ายกว่า
่
ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม จำาแนกตามกิจกรรมดนตรี การใช้คำาพูด ที่ผู้พูดอาจพูดด้วยเสียงตำา/สูง เร็ว/ช้า
บำาบัด พบว่า องค์ประกอบของดนตรีในกิจกรรมการ หรือมีจังหวะจะโคนที่ไม่เหมือนกันในแต่ละครั้ง และ
[9]
เล่นเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว และการร้องเพลง เมื่อนักดนตรีบำาบัดใช้ทำานองที่เด็กได้เคยฟังบ่อย ๆ
ร่วมกับการเล่นเครื่องดนตรีหรือการเคลื่อนไหวส่ง จนคุ้นหูนั้น อาจทำาให้เด็กที่เป็นออทิซึมรู้สึกคุ้นเคย
เสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึมทั้ง และรู้สึกปลอดภัยในการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น
3 ราย มากที่สุด ใน 3 อันดับแรก เมื่อพิจารณากิจกรรม มากขึ้น [13]
ดนตรีบำาบัดใน 3 อันดับนี้ จะพบว่า กิจกรรมการเล่น ในองค์ประกอบด้านเนื้อเพลงเป็นองค์ประกอบ
เครื่องดนตรีเป็นกิจกรรมหลักที่มีความถี่มากที่สุด ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมใน
และเป็นกิจกรรมที่ถูกนำาไปบูรณาการร่วมกับกิจกรรม เด็กที่เป็นออทิซึมเป็นอันดับรองลงมา งานวิจัยหลาย
อื่น ๆ มากที่สุด งานที่ใช้เนื้อเพลงที่แต่งขึ้นเองร่วมกับทำานองที่เด็กคุ้น
หูในการบำาบัดเด็กที่เป็นออทิซึม [16,28-30] ซึ่งเนื้อเพลง
อภิปร�ยผล เป็นภาษาพูดที่ร้อยเรียงลงไปให้เข้ากับทำานองเพลง ซึ่ง
จากผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบทางดนตรี การใส่ภาษาหรือคำาพูดที่ลงไปในทำานองเพลงนั้นอาจมี
ที่ส่งผลต่อปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึมทั้ง เนื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรมที่กำาลังทำาอยู่ เป็นคำาที่ใช้
3 ราย มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) องค์ประกอบ ให้สัญญาณในการทำาพฤติกรรม (prompt/cue) หรือ