Page 116 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 116

466 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           สำาคัญ                                      ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการส่งเสริม
                   กรณีศึกษาที่ 3                      ด้วยกิจกรรมดนตรีบำาบัดจำาแนกตามองค์ประกอบ

                   เด็กชาย C อายุ 7 ปี มีอุปนิสัยร่าเริง มี  ของดนตรี แบบบันทึกนี้มีลักษณะเป็นตาราง ประกอบ
           ร่างกายแข็งแรง สามารถช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร  ไปด้วย การบันทึกข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์ของ
           ประจำาวันได้ สามารถปฏิบัติตามคำาสั่งง่าย ๆ ได้ แต่มี   ตัวแปร ระหว่างแถว และคอลัมน์ สำาหรับข้อมูลแถว

           ปัญหาในด้านสมาธิซึ่งส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน   จะระบุองค์ประกอบของดนตรี ทั้ง 8 ด้าน ในส่วน
           ของเด็กชาย C เป็นอย่างมาก และมีปัญหาด้านการ  คอลัมน์ ระบุกิจกรรมดนตรีบำาบัด 5 กิจกรรม ราย
           ควบคุมอารมณ์ ต้องรับประทานยาเพื่อควบคุม     ละเอียด (ตารางที่ 1)

           อารมณ์ เด็กชาย C เข้ารับกิจกรรมบำาบัด สัปดาห์ละ      การบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกนี้ จะบันทึก
           3 ครั้ง และเข้าฝึกการพูด ที่โรงพยาบาล สัปดาห์ละ 3   พฤติกรรมการแสดงปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของผู้
           วัน ในด้านความชอบทางดนตรี เด็กชาย C มักจะเปิด  เข้ารับการบำาบัดกับนักดนตรีบำาบัด จำาแนกตามองค์

           เพลงจาก YouTube ฟังด้วยตนเอง เพลงที่เขาชื่นชอบ  ประกอบของดนตรี โดยพฤติกรรมดังกล่าวจะต้อง
           เป็นเพลงที่มีจังหวะสนุกสนาน รวดเร็ว เด็กชาย C   เป็นการแสดงพฤติกรรมที่ชัดเจนในการตอบสนองต่อ

           เข้ารับบริการดนตรีบำาบัด ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์   องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละด้าน โดยแบบบันทึก
           มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเป้าหมายทางสมาธิจดจ่อใน  นี้ใช้บันทึกข้อมูลตั้งแต่ 1 นาทีแรก จนถึง 45 นาที ของ
           การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ เป็นสำาคัญ     การให้ดนตรีบำาบัด


           เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัย                  ก�รเก็บรวบรวมข้อมูล


                เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นแบบ     1.  หลังจากที่โครงการวิจัยได้รับการรับรองจาก
           บันทึกข้อมูลการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมผ่านองค์  คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัย
           ประกอบของดนตรี และกิจกรรมดนตรีบำาบัด ซึ่ง   มหิดล แล้ว ได้มีการดำาเนินการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง

           พัฒนาขึ้นจากการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่  ตามเกณฑ์การคัดเลือกที่กำาหนด โดยศึกษาจาก
           เกี่ยวข้อง โดยการวิจัยใช้ในการบันทึกพฤติกรรมการ  เอกสารข้อมูลการเข้ารับบริการดนตรีบำาบัด แผนการ
           มีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมระหว่างผู้เข้ารับการบำาบัด  ให้ดนตรีบำาบัด รายงานความก้าวหน้า และเทปวิดีโอ

           กับนักดนตรีบำาบัด ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การสบตา      2.  ดำาเนินการติดต่อผู้ปกครองของกลุ่ม
           การพูดกับนักดนตรีบำาบัด การทำากิจกรรมดนตรี   ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเพื่อชี้แจงรายละเอียดการวิจัย
           ต่าง ๆ เช่น การเล่นดนตรีหรือการแต่งเพลงร่วมกับ  และขออนุญาตในการใช้เทปวิดีโอซึ่งบันทึกการเข้ารับ

           นักดนตรีบำาบัด การเคลื่อนไหวที่สอดคล้องกับคำาสั่ง  ดนตรีบำาบัดของกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนมาใช้ในการ
           ที่สอดคล้องกับการเคลื่อนไหวของนักดนตรีบำาบัด   วิจัย หากผู้ปกครองอนุญาตและยินดีให้ใช้ข้อมูลดัง

           เป็นต้น แบบบันทึกนี้เป็นแบบบันทึกประเภทตรวจ  กล่าว และขอความกรุณาผู้ปกครองลงนามในหนังสือ
           สอบรายการ (checklist) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใน  แสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมวิจัย
           รูปแบบความถี่เป็นจำานวนครั้งของพฤติกรรมการมี     3.  ดำาเนินการคัดเลือกผู้สังเกตการณ์ ซึ่งมี
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121