Page 114 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 114

464 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดนตรีเพื่อส่งเสริมการมี  ผลของการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนัก
           ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กที่เป็นออทิซึม ซึ่งถือ  ดนตรีบำาบัดในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีที่มี

           ได้ว่าเป็นความบกพร่องหลักที่ควรได้รับการแก้ไขและ  ประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์
           ส่งเสริมให้ดีขึ้น จากการรายงานผลการวิจัยในประเด็น  ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึม ซึ่งนำาไปสู่ผลสำาเร็จของ
           ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของดนตรีบำาบัด  การบำาบัดในการช่วยเหลือให้เด็กออทิซึมมีทักษะ

           ที่มีต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็ก  ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมที่ดีขึ้น
           ที่เป็นออทิซึมในลักษณะของอิทธิพลของดนตรีโดย     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และ
           รวม แต่ยังไม่พบงานวิจัยที่แสดงหลักฐานว่าองค์  จัดอันดับองค์ประกอบของดนตรีที่ใช้ในการบำาบัดที่มี

           ประกอบทางดนตรีประเภทใด ที่มีอิทธิพลสูงต่อการ  ผลต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็ก
           ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กที่เป็นออทิซึม    ออทิซึม องค์ประกอบของดนตรีที่นำามาวิเคราะห์ใน
           ด้วยเหตุนี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษาองค์ประกอบ  งานวิจัยนี้ ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ โดยทำาการ

           ของดนตรีที่ใช้ในการบำาบัดที่มีผลต่อการส่งเสริม  วิเคราะห์ผ่านกิจกรรมดนตรีบำาบัดทั้งหมด 5 กิจกรรม
           ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กที่เป็นออทิซึม โดย  ดังข้อมูลในตารางที่ 1 โดยมุ่งตอบคำาถามที่ ว่าองค์

           ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสังเกตการณ์ผ่านวิดีโอ (Video-  ประกอบของดนตรีใดบ้างใน 3 อันดับแรกที่ส่งผลต่อ
           based observation research) เก็บรวบรวมข้อมูลจาก  การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึม และ
           การสังเกตผ่านเทปบันทึกภาพวิดีโอกิจกรรมดนตรี  องค์ประกอบของดนตรีในกิจกรรมทางดนตรีบ�าบัด

           บำาบัด ในเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะออทิซึม   ใดบ้างใน 3 อันดับแรก ที่มีผลต่อการส่งเสริม
           จำานวน 3 คน ซึ่งเข้ารับดนตรีบำาบัดที่สาขาวิชาดนตรี  ปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึม

           บำาบัด วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล






           ตารางที่ 1 องค์ประกอบของดนตรีและกิจกรรมดนตรีบำ�บัด

              องค์ประกอบของดนตรี                                 กิจกรรมดนตรีบำาบัด

            1) สีสันของเสียง (timbre)                          1)  ก�รร้องเพลง (singing: S*)
            2) รูปแบบจังหวะ (rhythm)                           2)  ก�รเล่นเครื่องดนตรี (playing: P)
            3) อัตร�จังหวะ (tempo)                             3)  ก�รเคลื่อนไหว (movement: M)
            4) ระดับเสียง/ทำ�นอง (pitch/melody)                4)  ก�รแต่งเพลง (song writing: SW)
            5) คว�มดัง-เบ� (dynamics)                          5)  ก�รฟังเพลง (listening: L)
            6) เนื้อเพลง (lyrics)
            7) คีตลักษณ์ (form)
            8) เสียงประส�น (harmony)
           * หม�ยเหตุ สัญลักษณ์ตัวอักษรท้�ยคำ�ดังกล่�วจะถูกใช้แทนคำ�เต็มในก�รนำ�เสนอข้อมูลในต�ร�งผลก�รวิเคร�ะห์
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119