Page 112 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 112

462 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           อเมริกัน Diagnostic and Statistical Manual of   การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมนั้นเริ่มปรากฏขึ้นเมื่อเด็กมีช่วง
                                         [1]
           Mental Disorders ฉบับที่ 5 (DSM–5)  ได้กำาหนด  อายุระหว่าง 3 ถึง 6 เดือน และค่อย ๆ พัฒนาจนมี
           เกณฑ์การวินิจฉัยโรคออทิซึมเอาไว้ ดังนี้ (1) มีความ  ความซับซ้อนเมื่อมีอายุมากขึ้น  ปฏิสัมพันธ์ร่วมนั้น
                                                                              [5]
           บกพร่องทางด้านการสื่อสารทางสังคมและปฏิสัมพันธ์  แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นการ
           ทางสังคมในสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งมักพบปัญหา    ตอบสนองต่อปฏิสัมพันธ์ร่วมที่เริ่มโดยผู้อื่น (Re-

           เกี่ยวกับการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการ  sponding to Joint Attention skill, RJA) เช่น การ
           แสดงออกทางอารมณ์ การใช้ภาษาพูดและภาษา       มองตามวัตถุ การมองตามสิ่งที่ผู้อื่นชี้ หรือการมอง
           ท่าทางในการสร้างปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคล  ตามผู้อื่น (2) ปฏิสัมพันธ์ที่ตนเองเป็นผู้เริ่มให้เกิด

           อื่น ตลอดจนมีปัญหาในการสร้าง รักษา และเข้าใจ  ปฏิสัมพันธ์ (Initiating Joint Attention, IJA) เช่น
           ความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับบุคคลอื่น (2) มีรูป  การใช้การมองหรือท่าทางเพื่อชี้นำาผู้อื่นให้มี
           แบบพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จำากัดและ  ปฏิสัมพันธ์ร่วมกับตนและ (3) ปฏิสัมพันธ์ที่ตนเป็นผู้
                      ้
                  ้
           กระทำาซำาไปซำามา เช่น การเคลื่อนไหว การใช้สิ่งของ   เริ่มปฏิสัมพันธ์แต่เพื่อจุดประสงค์ทางด้านอื่นที่ไม่ใช่
                         ้
           และการพูดแบบซำา ๆ ไม่มีความยืดหยุ่นต่อกิจวัตรที่  ทางสังคมเป็นหลัก (Initiating Behavior Regula-
           ทำาเป็นประจำา และมีความผิดปกติในประสาทการรับ  tion/Request, IBR) เช่น การมองหรือการใช้ท่าทาง
                                                                            [4]
           รู้ซึ่งไวหรือช้าเกินกว่าบุคคลทั่วไป เช่น ความผิดปกติ  เพื่อชี้นำาให้ผู้อื่นหยิบของให้  นอกจากนี้ปฏิสัมพันธ์
           ในการรับรู้ความเจ็บปวด อุณหภูมิ การตอบสนองต่อ  ร่วมยังรวมถึงการมีสมาธิและความจดจ่อ ซึ่งมีความ

           เสียง การดมกลิ่น และการสัมผัสที่ผิดปกติ อาการตาม  จำาเป็นต่อการเรียนรู้และการเพิ่มพูนทักษะในด้าน
           ข้อดังกล่าวต้องส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในสังคม การ  ต่าง ๆ ที่จำาเป็นต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน เนื่องจาก

           ประกอบอาชีพ และทักษะอื่น ๆ ที่มีความจำาเป็นในการ  ปฏิสัมพันธ์ร่วมเป็นทักษะทางสังคมแรก ๆ ที่ได้รับการ
           ดำารงชีวิต  จากอาการซึ่งแสดงความบกพร่องของโรค   พัฒนาและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาทักษะทางสังคม
                                                                 [6]
           ออทิซึมตามเกณฑ์การวินิจฉัย DSM-5 นั้น จะเห็น  รูปแบบอื่น ๆ  การทำาให้เด็กที่เป็นออทิซึมเกิดสมาธิ
           ได้ว่าความบกพร่องทางด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม   และมีความจดจ่อทางการเรียนรู้จึงเป็นสิ่งที่สำาคัญและ
           เป็นหนึ่งในความบกพร่องหลักซึ่งส่งผลกระทบต่อ  จำาเป็นต่อการสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ตลอดจน
           การดำาเนินชีวิตประจำาวันของผู้ที่มีภาวะออทิซึม โดย  การเรียนรู้ทักษะทางด้านอื่น ๆ และดนตรีบำาบัด จัด

           เฉพาะการเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์ร่วมในกิจกรรมต่าง   เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีข้อค้นพบจากหลักฐานการวิจัย
           ๆ (joint attention) กับบุคคลอื่น ๆ ในสังคมทั้งใน  ว่าสามารถส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมในเด็กออทิซึมได้
           บริบทของครอบครัวและชุมชน จัดเป็นปัญหาสำาคัญ  อย่างมีประสิทธิภาพ

           ที่ควรได้รับการช่วยเหลือ                        ดนตรีบำาบัดคือการใช้กิจกรรมดนตรีและองค์
                ปฏิสัมพันธ์ร่วม (joint attention) เป็นทักษะที่  ประกอบของดนตรีที่มีการศึกษาวิจัยมาแล้วว่ามี

           บุคคลหนึ่งประสานความสนใจในเสียง ภาพ สัมผัส   ประสิทธิผลเพื่อฟื้นฟูและพัฒนาทักษะทางด้านต่าง ๆ
           เหตุการณ์ หรือวัตถุ ร่วมกับความสนใจในสิ่งเดียวกัน  เช่น ทางด้านสังคม การสื่อสาร สติปัญญา อารมณ์ และ
                        [3-4]
           นั้นของบุคคลอื่น  ในเด็กที่มีพัฒนาการปกติ ทักษะ  ทางด้านร่างกาย ตามความต้องการที่แตกต่างกันของ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117