Page 113 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 113

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  463




            ผู้เข้ารับการบำาบัด โดยนักดนตรีบำาบัดที่ได้รับการ  กิจกรรมกลุ่ม การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การเข้าใจ
            ศึกษาทางด้านดนตรีบำาบัดโดยตรงในระดับปริญญา  อารมณ์ของผู้อื่น และพฤติกรรมโดยรวม [22-26]  แต่ยัง

            จะสามารถออกแบบและปรับเปลี่ยนกิจกรรมดนตรี    ไม่พบงานวิจัยที่ศึกษาหรือนำาเสนอองค์ประกอบของ
            และองค์ประกอบของดนตรีให้เหมาะสมกับความ      ดนตรีที่ช่วยพัฒนาเด็กออทิซึมอย่างชัดเจน
            ต้องการและจุดแข็งที่แตกต่างกันของผู้เข้ารับการ     ดนตรีเป็นเสียงที่ถูกร้อยเรียงกันอย่างมีระบบ

            บำาบัดแต่ละคน ดนตรีมีเอกลักษณ์และมีคุณสมบัติที่  ผ่านองค์ประกอบของดนตรี (musical elements)
            จับความสนใจของผู้ฟัง กระตุ้นให้ผู้ฟังคิดและทำา  ที่ร้อยเรียงผสมผสานกันอย่างลงตัว จนเกิดความ
            กิจกรรมต่าง ๆ จึงมีวรรณกรรมเกี่ยวกับดนตรีบำาบัด  ไพเราะ โดยทั่วไปแล้วองค์ประกอบของดนตรีรวม

                                                 [7-13]
            ในการช่วยเหลือเด็กที่มีอาการออทิซึมมีอยู่มากมาย    ถึง จังหวะ ความดังเบา ทำานอง เสียงประสาน สีสัน
            วรรณกรรมเหล่านี้มักกล่าวถึงกิจกรรมดนตรีบำาบัด   ของเสียง พื้นผิว และคีตลักษณ์ และองค์ประกอบ
            (music therapy activity/intervention) ซึ่งเป็น  ดนตรีดังกล่าวได้ถูกนำามาใช้เป็นเครื่องมือสำาคัญทาง

                                                                                           [27]
            กิจกรรมดนตรีที่สอดแทรกการเรียนรู้ เช่น การร้อง  ดนตรีบำาบัด Deanna Hanson-Abromeit  ได้
            เพลง การเล่นเครื่องดนตรีแบบกลุ่ม การแต่งเพลง   ตีพิมพ์บทความทางวิชาการนำาเสนอเกี่ยวกับความ

            และ การด้นสด เพื่อช่วยพัฒนาทักษะทางด้านสังคม   สำาคัญของการแยก “หน้าที่ในการบำาบัดของดนตรี’’
            อารมณ์ การสื่อสาร สติปัญญา และการเคลื่อนไหว ให้  (Therapeutic Function of Music, TFM) ตาม
            กับเด็กที่มีอาการออทิซึม                    องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละด้าน เพื่อให้นักดนตรี

                 ในการออกแบบกิจกรรมดนตรีบำาบัดให้เหมาะ  บำาบัดเห็นถึงคุณค่าขององค์ประกอบของดนตรีแต่ละ
            สมกับผู้เข้ารับการบำาบัดแต่ละคนที่มีความต้องการ  ชนิด เพื่อเป็นประโยชน์ในการเลือกใช้และปรับแต่ง

            และจุดแข็งที่ไม่เหมือนกัน นอกจากเป้าหมายในการ  กิจกรรมดนตรีบำาบัดของตนเพื่อให้เกิดประสิทธิผล
            บำาบัดที่ไม่เหมือนกันแล้ว นักดนตรีบำาบัดผู้ออกแบบ  สูงสุดในการบำาบัด ผู้เขียนบทความนี้เป็นอาจารย์
            ยังต้องคำานึงถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความชอบทาง  สอนดนตรีบำาบัดที่มหาวิทยาลัยแห่งแคนซัส ประเทศ

            ดนตรี ความสามารถทางดนตรี วัฒนธรรมที่ผู้เข้ารับ  สหรัฐอเมริกา และได้ใช้ “แบบบันทึกแผนหน้าที่ใน
            การบำาบัดเติบโตมา  ในการออกแบบกิจกรรมดนตรี  การบำาบัดของดนตรี’’ (Therapeutic Function of
                           [14]
            บำาบัดที่เหมาะสมกับผู้เข้ารับการบำาบัดที่เป็นคนไทย  Music Plan Worksheet) ในการเรียนการสอน เพื่อ

            จึงไม่สามารถนำากิจกรรมดนตรีบำาบัดที่ออกแบบโดย  ช่วยฝึกนักศึกษาดนตรีบำาบัดทั้งในระดับปริญญา
            นักดนตรีบำาบัดต่างชาติมาใช้โดยไม่ปรับเปลี่ยนให้  ตรีและโท ในการเรียนรู้และเข้าใจศาสตร์ของดนตรี
            เหมาะสมก่อน                                 บำาบัดให้สามารถเลือกกลยุทธ์และออกแบบกิจกรรม

                 งานวิจัยหลากหลายชี้ให้เห็นประสิทธิผลในทาง  ดนตรีที่จะใช้ในการบำาบัดที่เหมาะสมกับเป้าหมายใน
            บวกของดนตรีบำาบัดในเด็กออทิซึม ซึ่งช่วยพัฒนา (1)   การบำาบัด

            ทักษะทางด้านการสื่อสาร ซึ่งรวมถึงทักษะการพูด การ     จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังที่ได้
            อ่าน และการใช้เครื่องมือช่วยเหลือในการสื่อสาร [15-21]    กล่าวไว้ในข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความสำาคัญ และ
            และ (2) ด้านสังคม ซึ่งรวมถึงการมีส่วนร่วมใน  ประโยชน์ของดนตรีบำาบัดสำาหรับเด็กที่เป็นออทิซึม
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118