Page 115 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 115

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  465



                        ระเบียบวิธีศึกษ�                     จากเกณฑ์การคัดเลือกดังกล่าวการศึกษาได้คัด

                 การวิจัยนี้ใช้การวิจัยเชิงสังเกตการณ์ผ่าน  เลือกกรณีศึกษาที่ตรงตามเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ โดยมี

            วิดีโอ (Video-based observation research) เพื่อ  รายละเอียดคุณลักษณะของกรณีศึกษารายละเอียด
            วิเคราะห์องค์ประกอบของดนตรีในการบำาบัดที่มีผล  ดังต่อไปนี้
            ต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กที่     กรณีศึกษาที่ 1

            เป็นออทิซึม เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตผ่าน       เด็กหญิง A มีอายุ 10 ปี มีนิสัยร่าเริง อารมณ์
            เทปบันทึกภาพวิดีโอกิจกรรมดนตรีบำาบัด ในเด็กที่  ดี พูดคุยเก่ง แต่มีปัญหาในการควบคุมอารมณ์ตนเอง

            เป็นออทิซึม จำานวน 3 คน ที่เข้ารับดนตรีบำาบัดที่สาขา  เมื่อถูกขัดใจ ทำาให้กระทบต่อบุคคลรอบข้าง และส่ง
            วิชาดนตรีบำาบัด วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย  ผลให้เด็กหญิง A ไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับ
            มหิดล                                       เพื่อน ๆ ในรุ่นเดียวกัน เด็กหญิง A มีปัญหาทางสมาธิ
                                                        ร่วมด้วย เด็กหญิง A รับประทานยาเพื่อเพิ่มสมาธิ
            กรณีศึกษ�ที่ใช้ในก�รสังเกต                  ในการทำากิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งยังเข้ารับการปรับ

                 การวิจัยนี้ได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยใน  พฤติกรรมที่โรงพยาบาลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการ

            คน มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 2016/113.0607    ใช้ชีวิตประจำาวัน ในด้านความชอบทางดนตรี เด็กหญิง
                 กรณีศึกษาเป็น เด็กที่มีภาวะออทิซึม ที่มีความ  A ชื่นชอบเพลงการ์ตูนของดิสนีย์ ชอบการร้องเพลง
            บกพร่องทางด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม จำานวน 3 คน   เล่นกีตาร์ และอูคูเลเล่ เด็กหญิง A ได้เข้ารับบริการ

            มีเกณฑ์การคัดเลือกดังนี้                    ดนตรีบำาบัด ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัย
                 1)  ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่ามีภาวะออทิซึม  มหิดล เพื่อเป้าหมายทางทักษะสังคมเป็นสำาคัญ
                 2)  มีอายุระหว่าง 7-10 ปี                     กรณีศึกษาที่ 2

                 3)  มีความบกพร่องด้านการมีปฏิสัมพันธ์ร่วม     เด็กชาย B อายุ 8 ปี เคลื่อนไหวร่างกายและ
            ทางสังคม                                    ใช้อวัยวะได้ปกติ สื่อสารด้วยคำาพูดได้เป็นคำา ๆ แต่
                 4)  มีเป้าหมายหลักในการเข้ารับดนตรีบำาบัด  ไม่ชัดเจน และไม่สบตาในขณะพูดหรือสื่อสาร เด็ก

            เพื่อส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคม   ชาย B มักเอามือปิดหูเมื่อได้ยินเสียงดังมาก ๆ และ
                 5)  เข้ารับการบำาบัด ณ ห้องดนตรีบำาบัด   เมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่พึงพอใจ เด็กชาย B จะล้มตัวลง

            วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่  นอนเพื่อแสดงการปฏิเสธ เด็กชาย B เข้ารับการปรับ
            เดือนมิถุนายน 2558 ถึงเดือนมีนาคม 2559      พฤติกรรม การฝึกพูด และได้รับการกระตุ้นพัฒนา
                 6)  ผู้เข้ารับการบำาบัดแสดงการมีปฏิสัมพันธ์  การ ในด้านความชอบทางดนตรีนั้น เด็กชาย B ชอบ

            ร่วมทางสังคมกับนักดนตรีบำาบัด บรรลุตามจุด   ดนตรี เสียงเพลง และชอบเต้นเมื่อได้ยินดนตรีใน
            ประสงค์ที่ตั้งไว้                           เพลงที่คุ้นเคย โดยเฉพาะเพลงเด็ก จากข้อมูลเบื้อง

                 7)  ได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองให้สามารถ  ต้น ทำาให้เด็กชาย B ได้เข้ารับบริการดนตรีบำาบัด ณ
            ใช้ข้อมูลจากเทปวิดีโอ โดยการลงนามในหนังสือแสดง  วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเป้า
            เจตนายินยอมในการเข้าร่วมการวิจัย            หมายทางทักษะสังคม และทักษะการสื่อสาร เป็น
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120