Page 122 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 122
472 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
ว่าเป็นการสะท้อนกลับพฤติกรรมของเด็กที่เป็นออทิซึม ดนตรีบำาบัดที่ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทาง
[13]
เช่น การให้คำาชม ก็ได้ ซึ่งการร้องเนื้อเพลงที่มี สังคม จากผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบของดนตรี
เนื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรมที่กำาลังทำาอยู่และการใช้ ในกิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีหรือการบูรณาการ
เนื้อเพลงที่เป็นคำาที่ใช้ให้สัญญาณทำาพฤติกรรม อาจ กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
ช่วยให้เด็กที่เป็นออทิซึมเข้าใจถึงกิจกรรมที่นักบำาบัด ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมในเด็กออทิซึม
ต้องการให้ทำาได้ง่ายขึ้น ทำาให้กลับมามีปฏิสัมพันธ์ มากที่สุด โดยเฉพาะการเล่นเครื่องดนตรีสด ซึ่งมี
ร่วมอีกครั้ง ส่วนการใช้เนื้อเพลงที่เป็นการสะท้อน ลักษณะเฉพาะในการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของ
กลับ (feedback) พฤติกรรมของเด็กที่เป็นออทิซึม ดนตรีหลายอย่างได้รวดเร็วตามความต้องการในขณะ
อาจส่งผลให้เด็กที่เป็นออทิซึมได้เริ่มตระหนักถึง นั้นของเด็กที่เป็นออทิซึม ซึ่งอาจมีส่วนช่วยกระตุ้นให้
พฤติกรรมของตนเอง และหันมามีปฏิสัมพันธ์ร่วม เด็กหันมามีปฏิสัมพันธ์ร่วม อย่างไรก็ตามเนื่องจาก
หรือเมื่อได้รับคำาชมอาจทำาให้เกิดแรงบันดาลใจใน เด็กที่เป็นออทิซึมแต่ละคนมีความไวในประสาทการ
้
[13]
[1]
การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมนั้นซำาอีกในอนาคต นอกจาก รับรู้เสียงไม่เหมือนกัน ทำาให้การตอบสนองต่อเครื่อง
ทางด้านเนื้อหาแล้ว การใช้เนื้อเพลงยังควรมีความ ดนตรีแต่ละชนิดในเด็กที่เป็นออทิซึมแต่ละคนจึงไม่
สอดคล้องกับภาษาพูดและกับทำานองเพลง และถ้าเนื้อ เหมือนกัน แต่เด็กที่เป็นออทิซึมส่วนมากมักไม่ชอบ
้
เพลงมีการใช้คำาซำา ๆ นอกจากจะเป็นสัญญาทำาให้เกิด เครื่องดนตรีที่สร้างเสียงรบกวน (white noise) เช่น
ปฏิสัมพันธ์ร่วมได้แล้วยังอาจช่วยในการฝึกทักษะทาง แทมโบรีน ในการเลือกเครื่องดนตรีเหมาะสมใน
[13]
ด้านการสื่อสารอีกด้วย [7] การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมจึงไม่สามารถเจาะจงลงไป
องค์ประกอบที่มีผลต่อการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ ได้ว่าควรเป็นเครื่องดนตรีใด ในการนำากิจกรรมดนตรี
ร่วมทางสังคมในเด็กที่เป็นออทิซึมรองลงมาจาก บำาบัดนั้น นักดนตรีบำาบัดอาจใช้การเล่นดนตรีร่วมกัน
เนื้อเพลง คือ องค์ประกอบด้านสีสันของเสียง สีสัน ในขณะที่นักดนตรีบำาบัดร้องเพลงที่เกี่ยวกับการเล่น
ของเสียงคือ ลักษณะเฉพาะของเสียงที่เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีชิ้นนั้นหรือใช้การผลัดกันเล่นเพื่อเรียก
้
แต่ละเครื่อง หรือนำาเสียงที่ใช้ในการพูดหรือร้อง ร้องการมีปฏิสัมพันธ์ร่วม ทั้งนี้ การเล่นเครื่องดนตรี
[7]
เพลงของคนแต่ละคน ความสามารถในการแยกแยะ ทำาให้เด็กที่เป็นออทิซึมขยับ เคลื่อนไหว สนุก พร้อมได้
ความแตกต่างของสีสันของเสียงนั้นเกิดขึ้นตั้งแต่ใน รับฟังการสะท้อนกลับของพฤติกรรมตนเองผ่านเสียง
ช่วงปีแรกของพัฒนาการ และนับเป็นทักษะแรก ๆ ของการเล่นเครื่องดนตรีที่ออกมา สีของเครื่องดนตรี
[31]
ในการแยกแยะเสียงของเด็กเล็ก การปรับเปลี่ยน ที่มีความฉูดฉาด ชิ้นส่วนของเครื่องดนตรีที่มีการ
สีสันของเสียงระหว่างการด้นสดนั้นทำาให้สภาพ เคลื่อนไหว เช่น การสั่นของสายกีตาร์ หรือเม็ดโลหะ
แวดล้อมของดนตรีเกิดการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการ ในกลองที่ส่งเสียงคลื่น (ocean drum) ท่าทางในการ
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมนั้นทำาให้เด็กกลับมาอยู่ใน เล่นเครื่องดนตรีที่มีการเคลื่อนไหวมาก หรือเสียงของ
ภาวะมีปฏิสัมพันธ์ร่วมและอยู่ในภาวะที่เรียนรู้ได้ดีอีก เครื่องดนตรีที่เด็กชอบ อาจมีส่วนร่วมในการดึงดูดให้
ครั้ง [32] เด็กที่เป็นออทิซึมมีปฏิสัมพันธ์ร่วมมากขึ้น
เมื่อพิจารณาองค์ประกอบของดนตรีในกิจกรรม