Page 120 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 120

470 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           เสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของกรณีศึกษา C   องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง (f = 60) ส่งผล
           มากที่สุดคือ องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง (f =   ต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุด รองลงมา

           117) รองลงมาคือองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง (f = 91)   คือองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง (f = 51) องค์ประกอบ
           และองค์ประกอบด้านคีตลักษณ์ (f = 64) เมื่อพิจารณา  ด้านคีตลักษณ์ (f = 22) 2) ในกิจกรรมการเล่นเครื่อง
           ความถี่ของการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมจำาแนก  ดนตรี องค์ประกอบด้านสีสันของเสียง (f = 41) ส่งผล

           ตามกิจกรรมดนตรีบำาบัด พบว่า กิจกรรมดนตรีบำาบัด  ต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุด รองลงมา
           ที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมของกรณี  คือองค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง (f = 30) 3) ใน
           ศึกษา C มากที่สุดคือ กิจกรรมการเคลื่อนไหว (f =   กิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีร่วมกับการเคลื่อนไหว

           153) รองลงมาคือกิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรี (f =   องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง (f = 8) ส่งผล
           143) และกิจกรรมการเล่นเครื่องดนตรีร่วมกับการ  ต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุด รองลงมา
           เคลื่อนไหว (f = 26) รายละเอียด (ตารางที่ 4)  คือองค์ประกอบด้านคีตลักษณ์ (f = 7) 4) ในกิจกรรม

                เมื่อพิจารณากิจกรรมดนตรีจำาแนกตามองค์  การร้องเพลง องค์ประกอบด้านระดับเสียง/ทำานอง
           ประกอบของดนตรีที่ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วม  (f = 8) ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมาก

           ทางสังคมในกรณีศึกษา C โดยการนำาเสนอผลใน     ที่สุด รองลงมาคือองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง และองค์
           ตอนนี้จะนำาเสนอผลเฉพาะกิจกรรมดนตรีที่มีผลต่อ  ประกอบด้านคีตลักษณ์ ซึ่งมีความถี่เท่ากัน (f = 5)
           การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมทางสังคมมากที่สุดเรียงลงไป   5) ในกิจกรรมการฟังเพลง องค์ประกอบด้านระดับ

           5 อันดับ ดังต่อไปนี้ 1) ในกิจกรรมการเคลื่อนไหว   เสียง/ทำานอง และองค์ประกอบด้านเนื้อเพลง (f = 4)



           ตารางที่ 4  คว�มถี่ของก�รมีปฏิสัมพันธ์ร่วมท�งสังคมในกิจกรรมดนตรีบำ�บัดจำ�แนกต�มองค์ประกอบดนตรีของกรณี
                     ศึกษ� C

            music elements/  singing  playing  movement  song  listening  S + P  S + M  P + M  S + P + M  Total  ranking
              interventions   (S)   (P)   (M)   writing   (L)
                                              (SW)

            timbre              41      3             3     2           2            51    4
            rhythm        3     24      13                  1           3            44    5
            tempo                5      3                                             8    6
            pitch/melody   8    30      60            4     3     3     8      1     117   1
            dynamics             1                    1                               2    7
            lyrics        5     18      51            4     3     3     6      1     91    2
            form          5     24      22            1     2     2     7      1     64    3
            harmony                     1                                             1    8
            total         21    143    153           13     11    8    26      3
            ranking       4      2      1             5     6     7     3      8
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125