Page 98 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 98

236 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             จริง มิใช่ผลจากปรากฏการณ์การรักษาหลอกอย่าง  การหลั่งสารสื่อประสาทที่บริเวณปลายประสาท อัน
             เดียว ดังนั้น กล่าวได้ว่าการรักษาด้วยยาหม่องพริก  เป็นสาเหตุทำาให้สมองส่วนกลางรับรู้และแปลผล
             สามารถลดระดับความรุนแรงของอาการปวดได้ดี     ความเจ็บปวดช้าลง ด้วยเหตุนี้ จึงทำาให้ระดับความ

             กว่าการรักษาด้วยยาหม่องพริกชนิดหลอกในผู้ป่วย  รุนแรงของอาการปวดลงลงได้  นอกจากนี้ การที่ผู้
                                                                                [31]
             ที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณหลังส่วนบนจากกลุ่ม  เข้าร่วมวิจัยมีระดับความรุนแรงของอาการปวดลด

             อาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด                 ลง และระดับขีดเริ่มของอาการกดเจ็บเพิ่มขึ้นนั้นอาจ
                 การศึกษาครั้งนี้พบว่ามีความสอดคล้องกับการ  เกิดจากการที่สารแคปไซซินส่งผลต่อการลดระดับ
             ศึกษาของ Kosuwon W. และคณะ ในปี 2010  โดย   ของสารที่ทำาให้เกิดอาการปวด (Substance P) ที่
                                               [11]
             ผลการศึกษาดังกล่าวพบว่า การทาเจลที่มีส่วนผสม  หลั่งมาจาก primary afferent nerve fibers นำาไปสู่
             ของสารแคปไซซินที่บริเวณข้อเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม  การลดลงของอาการปวดดังกล่าว  นอกจากทั้งสอง
                                                                                  [32]
             นั้น สามารถลดระดับอาการปวด ความรุนแรงของ    กลไกที่กล่าวมาแล้วข้างต้น การลดระดับความรุนแรง
             อาการข้อเข่าเสื่อมและการเคลื่อนไหวของข้อเข่าดีขึ้น  ของอาการปวด อาจอธิบายได้จากทฤษฎีการควบคุม
             อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ Richards และคณะ ในปี   ประตู (gate control theory) โดยมีรายงานว่า ความ

             2006  พบว่า การฉีดสารแคปไซซินในผู้ป่วยเอ็นข้อ  รู้สึกแสบร้อนที่เกิดจากสารแคปไซซินในปริมาณที่
                 [28]
             มืออักเสบ (acute lateral epicondylitis) สามารถ  เหมาะสม อาจมีผลในการกระตุ้นเส้นใยประสาทขนาด
             ลดอาการปวดและเพิ่มความสามารถในการทำางาน     ใหญ่ (Aβ fibers) ซึ่งนำากระแสประสาทเร็วกว่าเส้นใย

             ของผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวได้ นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัย  ประสาทขนาดเล็ก (C fiber) ที่นำาความรู้สึกเจ็บปวด
             ที่รายงานว่าสารแคปไซซินมีประสิทธิผลในการลด  ทำาให้เกิดยับยั้งการนำากระแสประสาทความเจ็บปวด
             ปวดในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมระยะสุดท้าย  และในผู้ที่  ที่ substantia gelatinosa ในไขสันหลัง ทำาให้อาการ
                                          [29]
             ติดเชื้อเอชไอวี ที่มีอาการปวดมาจากความผิดปกติ  ปวดของผู้ป่วยลดลง [32-33]
             ของเส้นประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย (HIV-distal      การศึกษาครั้งนี้ยังพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับ

             sensory polyneuropathy) อย่างไรก็ตาม งานวิจัย  ยาหม่องพริกมีองศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอ
                                  [30]
             ที่กล่าวมาข้างต้น มีความแตกต่างจากงานวิจัยในครั้ง  เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติและทางคลินิก ซึ่ง
             นี้อยู่หลายประการ เช่น พยาธิสภาพของผู้เข้าร่วมวิจัย   สาเหตุที่เกิดผลดังกล่าวอาจเป็นไปได้ว่า สารแคปไซ

             จำานวนครั้งในการรักษา ระยะเวลาในการรักษา หรือ  ซินไม่เพียงแต่ทำาให้ผู้เข้าร่วมวิจัยเกิดความรู้สึกแสบ
             ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษา เป็นต้น    ร้อนที่บริเวณกล้ามเนื้อหลังส่วนบนหรือบ่า แต่ยังช่วย

                 สำาหรับกลไกการลดระดับความรุนแรงของ      ให้เกิดการเพิ่มการไหลเวียนโลหิตที่บริเวณดังกล่าว
             อาการปวดและการเพิ่มระดับขีดเริ่มของอาการกด  ดัวย  ซึ่งอาจทำาให้กล้ามเนื้อบ่าคลายตัวได้ จนเป็น
                                                            [13]
             เจ็บของยาหม่องพริกนั้น มีสาเหตุมาจากหลายกลไก    สาเหตุทำาให้องศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอเพิ่ม

             กรองแก้วและวุฒิชัย ในปี พ.ศ. 2535 รายงานว่า   ขึ้นในที่สุด
             สารแคปไซซินเป็นสารที่สามารถออกฤทธิ์ต่อเซลล์     การศึกษานี้มีข้อจำากัดอยู่บางประการ ได้แก่ 1)
             ประสาท โดยสารดังกล่าวจะเป็นตัวช่วยในการชะลอ  การปกปิดผู้รักษา กล่าวคือยังขาดการปกปิดไม่ให้ผู้
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103