Page 97 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 97

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  235




              ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม

                                                        เปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มโดยใช้สถิติ ANCOVA
                                                          (Adjusted post-test mean values)
                             ตัวแปร                 กลุ่ม       กลุ่มยาหม่องพริก   ความแตกต่าง
                                                 ยาหม่องพริก      ชนิดหลอก           (95%CI)

               ระดับความรุนแรงของอาการปวด           2.89             4.11        1.22* (0.32, 2.13)
               ระดับขีดเริ่มของระดับอาการปวด        5.90             5.50        0.39 (-0.12, 0.91)
               องศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอ        59.17            59.53        0.36 (-4.20, 4.92)

              หมายเหตุ: * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติระหว่างกลุ่ม (p < 0.05)



              อย่างไรก็ตาม ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 25 ราย ให้ข้อมูลต่อว่า   ปวดกล้ามเนื้อและพังผืดได้
              ความรู้สึกแสบร้อนดังกล่าวไม่ทำาให้เกิดความทรมาน     เมื่อพิจารณาผลการประเมินดังกล่าวในกลุ่มยา
              หรือรู้สึกไม่สบายแต่อย่างใด                 หม่องพริกชนิดหลอก พบว่า การรักษาด้วยกลุ่มยา

                                                          หม่องพริกชนิดหลอกสามารถลดระดับความรุนแรง
                            อภิปร�ยผล                     อาการปวดและเพิ่มระดับขีดเริ่มของอาการกดเจ็บ

                   การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน  และองศาการเคลื่อนไหวของคอได้อย่างมีนัยสำาคัญ

              ประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาหม่องพริกต่อระดับ  ทางสถิติเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ทั้งสามตัวแปรดัง
              ความรุนแรงของอาการปวด ระดับขีดเริ่มของอาการ  กล่าวไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางคลินิก
              กดเจ็บ และองศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอในผู้     เมื่อเปรียบเทียบระหว่างผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มที่

              ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนบนจากกลุ่มอาการปวด  ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริกและกลุ่มที่ได้รับ
              กล้ามเนื้อและพังผืด ผลการศึกษาพบว่า หลังจาก  ยาหม่องพริกชนิดหลอก ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้า

              ที่ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริก ผู้  ร่วมวิจัยในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริก
              เข้าร่วมวิจัยมีค่าระดับความรุนแรงของอาการปวด   สามารถลดระดับความรุนแรงของอาการปวดได้ดี
              ระดับขีดเริ่มของระดับอาการกดเจ็บ และองศาการ  กว่ากลุ่มยาหม่องพริกชนิดหลอกอย่างมีนัยสำาคัญทาง

              เคลื่อนไหวของการก้มคอ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่  สถิติ ในส่วนของตัวแปรอื่น ๆ พบว่าไม่มีความแตก
              ดีขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง  ต่างกัน

              ของระดับความรุนแรงของอาการปวดและองศาการ         การที่กลุ่มรับยาหม่องพริกชนิดหลอกมีระดับ
              เคลื่อนไหวของการก้มคอดังกล่าวนั้น ไม่เพียงแต่ดีขึ้น  ความรุนแรงของอาการปวดดีขึ้นนั้น อาจเป็นผลมา
              อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเท่านั้น ยังพบว่ามีค่าที่ดีขึ้น  จากปรากฏการณ์การรักษาหลอก (placebo effect) [27]

              อย่างมีนัยสำาคัญทางคลินิกด้วยเช่นกัน [24-26]  จึงแสดง  ซึ่งผลการลดระดับความรุนแรงของอาการปวดด้วย
              ให้เห็นว่า การรักษาด้วยยาหม่องพริกอาจจะสามารถ  ยาหม่องพริกที่ดีกว่ายาหม่องพริกหลอกนั้นแสดงให้
              รักษาผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนบนจากกลุ่มอาการ  เห็นว่า เป็นประสิทธิผลการรักษาจากยาหม่องพริก
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102