Page 93 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 93

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  231




              การคัดออกดังต่อไปนี้                        กล้ามเนื้อและพังผืดของกล้ามเนื้อบ่า ส่วนเบี่ยงเบน
                   เกณฑ์การคัดเข้า                        มาตรฐานของกลุ่มยาหม่องพริก และกลุ่มยาหม่อง
                   1)  เป็นผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนบนอันสืบเนื่อง  พริกชนิดหลอก ที่ใช้ในการคำานวณ มีค่าเท่ากับ 2.47

              มาจากกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด โดยใช้กฎ  และ 1.72 ตามลำาดับ ผลต่างของค่าเฉลี่ยของตัวแปร
              เกณฑ์การวินิจฉัยดังนี้คือ ผู้ป่วยจะต้องมีอาการปวด  ระหว่างสองกลุ่ม มีค่าเท่ากับ 2.56 กำาหนดคะแนน

              ที่กล้ามเนื้อบริเวณหลังส่วนบน (spontaneous up-  ปกติมาตรฐานที่ตรงกับอำานาจการทดสอบร้อยละ 90
              per back pain) เป็นเวลาอย่างน้อย 12 สัปดาห์ และ  และคะแนนปกติมาตรฐานที่ตรงกับระดับนัยสำาคัญ
              ต้องมีจุดกดเจ็บอย่างน้อย 1 จุดที่กล้ามเนื้อบริเวณ  0.05 จากผลการคำานวณพบว่าต้องใช้ผู้เข้าร่วมวิจัย

              ดังกล่าว สำาหรับจุดกดเจ็บผู้ป่วยจะต้องมีจุดที่ไวต่อ  ทั้งสิ้น 50 คน (รวมร้อยละ 10 ของจำานวนผู้ป่วยที่อาจ
              การรับความรู้สึก (focal tenderness) และสามารถ  ขาดหายไปจากการทดลอง)

              รับรู้ถึงอาการและตำาแหน่งอาการปวดเองได้ (pain
              recognition)                                วิธีก�รศึกษ�
                   2)  เข้าใจและยินดีทำาตามกระบวนการวิจัยได้     ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ผ่านการคัดกรองเซ็นใบยินยอม

                   เกณฑ์การคัดออก                         เข้าร่วมการวิจัย และถูกสุ่มเพื่อจัดกลุ่ม โดยแบ่งเป็น 2
                   1)  มีประวัติของโรคหรือกลุ่มอาการดังต่อไปนี้  กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริก และ
                     - โรคทางระบบประสาท                   กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริกชนิดหลอก

                     - โรคข้ออักเสบ หรือติดเชื้อในบริเวณบ่าและ  โดยผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่มได้รับการรักษาทั้งหมด
              หลังส่วนบน (inflammatory arthritis)         9 ครั้ง แบ่งเป็น 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 3 สัปดาห์
                     - โรคผิวหนังที่บริเวณบ่าและหลังส่วนบน  สำาหรับการประเมินตัวแปร ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มได้รับ

                   2)  กระดูกหัก                          การประเมินตัวแปรทั้งสิ้น 2 ครั้ง คือ 1) ประเมินก่อน
                   3)  มีไข้หรือมีโรคที่มีการอักเสบ ติดเชื้อ  เข้ารับการรักษา (baseline assessment) และ 2)

                   4)  เกิดอาการระคายเคืองหรืออาการแพ้จาก  ประเมินหลังการรักษาครั้งสุดท้าย (post-test )
              สารแคปไซซิน                                     หลังจากที่ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการประเมินตัวชี้
                                                          วัดต่าง ๆ ก่อนเข้ารับการรักษาโดยผู้ช่วยวิจัยที่ได้รับ
              ก�รคำ�นวณกลุ่มตัวอย่�ง                      การปกปิด (blind) แล้ว ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการ

                   การคำานวณขนาดตัวอย่างเพื่อทดสอบ        สุ่มเพื่อแบ่งกลุ่ม (กลุ่มทายาหม่องพริกหรือกลุ่มทายา

              สมมติฐานความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากร   หม่องพริกชนิดหลอก) โดยใช้วิธี block randomized
              2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ใช้สูตร Analysis of covari-  allocation ขนาดของ block คือ 2, 4 และ 6 ตามลำาดับ
              ance (ANCOVA) โดยใช้ค่า pain intensity จาก  เพื่อให้ได้โอกาสที่ถูกสุ่มและมีจำานวนของอาสาสมัคร
                             [16]
              การศึกษานำาร่อง ที่ศึกษาเปรียบเทียบผลของการรักษา  ในแต่ละกลุ่มเท่าเทียมกัน กระบวนการสุ่มจะดำาเนิน
              ด้วยยาหม่องพริก (10 คน) และการรักษาด้วยยาหม่อง  การโดยหนึ่งในผู้วิจัย (ซึ่งเป็นผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับ
              พริกชนิดหลอก (10 คน) ในผู้ป่วยกลุ่มอาการปวด  กระบวนการคัดเข้าของผู้เข้าร่วมวิจัย กระบวนการ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98