Page 95 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 95

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  233




                   เทคนิคการวัดระดับขีดเริ่มของระดับอาการปวด  เป็นคำาถามปลายเปิด จำานวน 1 ข้อ คือ “หลังจากที่
              ในการศึกษานี้อ้างอิงมาจากเทคนิคของ Fisher [19-20]   ท่านได้รับการรักษาด้วยยาหม่องแล้ว ท่านมีอาการไม่
              โดยหลังจากที่อธิบายขั้นตอนอย่างละเอียดให้ผู้เข้า  พึงประสงค์ หรืออาการอื่น ๆ ที่ทำาให้ท่านรู้สึกไม่สบาย

              ร่วมวิจัยฟังเรียบร้อยแล้ว ผู้เข้าร่วมวิจัยจะต้องอยู่ใน  หรือไม่ อย่างไร’’
                      ่
              ท่านอนควำา หลังจากนั้นผู้วัดจะต้องค้นหาตำาแหน่ง
              ของจุดกดเจ็บ (myofascial trigger point) และ  ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
              ใช้ปากกา (สามารถลบออกได้ง่าย) ทำาสัญลักษณ์      สถิติพรรณนาได้ถูกนำามาใช้ในการอธิบาย
              ไว้ จากนั้นใช้เครื่องวัดระดับขีดเริ่มของระดับอาการ  ลักษณะของข้อมูลทั้งแบบต่อเนื่อง (continuous)

              ปวด (algometry: ITO co., LTD, Japan) กดลงไป  และแบบแจงนับ (category) โดยที่ตัวแปรต่อเนื่อง
              ยังตำาแหน่งของจุดกดเจ็บ โดยความเร็วในขณะกด  (เช่น อายุ) จะถูกอธิบายโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยง

              ประมาณ 1 กิโลกรัมต่อวินาที ผู้เข้าร่วมวิจัยจะต้อง  เบนมาตรฐาน ส่วนตัวแปรที่เป็นแบบแจงนับ (เช่น เพศ
              ให้สัญญาณทันทีเมื่อเริ่มรู้สึกเจ็บ (pain threshold)   อาชีพ) จะถูกอธิบายโดยการใช้จำานวนและค่าสัดส่วน
              โดยระดับของแรงกดที่ให้จะอยู่ในช่วง 0–11 กิโลกรัม  ที่เป็นร้อยละในการอธิบาย

              ต่อตารางเซนติเมตร ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการวัด      สถิติเชิงอนุมานจะวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม
              ทั้งหมด 2 ครั้ง ซึ่งค่าดังกล่าวถูกนำามาหาค่าเฉลี่ย  STATA Version 10 (StataCorp LP, 4905 Lake-
                   การประเมินขีดจำากัดของระดับอาการปวดใน  way Drive College Station, Texas 77845, USA)

              ผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืดโดยใช้   ค่าตัวแปรต่าง ๆ ถูกนำาเสนอในลักษณะของค่าเฉลี่ย
              เทคนิคข้างต้นนี้พบว่ามีความน่าเชื่อถือสูง [21]  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบภายใน
                   3.  องศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอ (cervi-  กลุ่มเดียวกัน เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการ

              cal flexion)                                รักษา ใช้สถิติ paired t-test และการเปรียบเทียบ
                   องศาการเคลื่อนไหวของคอในการศึกษานี้วัดใน  ระหว่างกลุ่มจะใช้สถิติ Analysis of Covariance

              ท่าก้มคอ (cervical flexion) โดยใช้ Cervical Range   (ANCOVA) โดยกำาหนดช่วงความเชื่อมั่นที่ 95%
              of Motion (CROM) goniometer (Baseline , Fab-
                                                ®
              rication Enterprises Inc, PO, USA) ผู้เข้าร่วมวิจัย      ผลก�รศึกษ�

              จะได้รับการวัดทั้งหมด 2 ครั้ง ซึ่งค่าดังกล่าวจะถูกนำา     ข้อมูลพื้นฐานของอาสาสมัครที่เข้าร่วมงานวิจัย
              มาหาค่าเฉลี่ยการประเมินองศาการเคลื่อนไหวของ  ในครั้งนี้แสดงในตารางที่ 1 โดยจากข้อมูลพื้นฐานดัง

              การก้มคอ พบว่าเป็นวิธีการที่มีความน่าเชื่อถือสูงมาก   กล่าวพบว่า อายุ ส่วนสูง และระยะเวลาที่เกิดอาการ
              (r > 0.97) อีกทั้งยังความเที่ยงสูงเช่นเดียวกัน (ICC   ปวด มีความใกล้เคียงกันระหว่างสองกลุ่ม
                     [22]
              = 0.83) [23]                                    จากตารางที่ 2 พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีค่าระดับ

                   4.  ภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา            ความรุนแรงของอาการปวดลดลง และระดับขีดเริ่ม
                   แบบสอบถามภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วย   ของระดับอาการกดเจ็บและองศาการเคลื่อนไหวของ
              ยาหม่องในการศึกษาครั้งนี้ จะมีคำาถามที่มีลักษณะ  การก้มคอเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100