Page 96 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 96
234 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ตารางที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมวิจัย
ข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มยาหม่องพริก กลุ่มยาหม่องพริกชนิดหลอก
จำานวนผู้เข้าร่วมวิจัย 25 25
ข้อมูลเบื้องต้น
อายุ (ปี) 22.00 (2.02) 25.80 (7.01)
เพศชาย/หญิง (คน) 5/20 9/16
นำ้าหนัก (กิโลกรัม) 58.64 (13.67) 65.20 (16.40)
ส่วนสูง (เซนติเมตร) 161.16 (6.85) 163.24 (10.59)
ระยะเวลาที่เกิดอาการปวด (เดือน) 45.96 (45.19) 43.68 (28.75)
อาชีพ
- นักศึกษา (คน) 11 13
- แม่บ้าน (คน) – 2
- เจ้าหน้าที่ธุรการ (คน) 14 9
- ธุรกิจส่วนตัว – 1
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบระหว่างการประเมินก่อนการรักษาและหลังการรักษา
กลุ่มยาหม่องพริก กลุ่มยาหม่องพริกชนิดหลอก
ตัวแปร ก่อนการ หลังการ ความ ก่อนการ หลังการ ความ
รักษา รักษา แตกต่าง รักษา รักษา แตกต่าง
ระดับความรุนแรงของอาการปวด: 5.96 3.08 2.88* ,# 5.44 3.92 1.52*
Mean(SD) (1.59) (1.98) (1.76) (1.71) (1.98) (1.45)
ระดับขีดเริ่มของระดับอาการปวด: 4.75 5.84 1.09* 4.95 5.56 0.61*
Mean(SD) (1.05) (1.08) (1.08) (1.11) (1.07) (0.94)
องศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอ: 51.31 57.79 6.48* ,# 56.32 60.91 4.59*
Mean(SD) (10.51) (10.62) (7.01) (10.39) (8.48) (10.65)
หมายเหตุ: * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติระหว่างก่อนและหลังการรักษา (p < 0.05)
# = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางคลินิก
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสองกลุ่มพบว่า กลุ่มที่ ไม่มีความแตกต่างกัน (p > 0.05) (ตารางที่ 3)
ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริก ผู้เข้าร่วมวิจัยมีค่า สำาหรับภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาพบว่า ใน
ระดับความรุนแรงของอาการปวดลดลงมากกว่ากลุ่ม การศึกษาครั้งนี้ยาหม่องทั้งสองชนิดไม่ทำาให้ผู้เข้า
ยาหม่องพริกชนิดหลอกอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ร่วมวิจัยเกิดภาวะแทรกซ้อนหรืออาการไม่พึงประสงค์
(p < 0.05) อย่างไรก็ตาม ระดับขีดเริ่มของระดับ ประการใด ยกเว้นในกลุ่มยาหม่องพริกที่ผู้เข้าร่วม
อาการกดเจ็บและองศาการเคลื่อนไหวของการก้มคอ วิจัยรู้สึกแสบร้อนบริเวณที่ทายาหม่องพริกเล็กน้อย