Page 103 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 103

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  241




              เพศ และครอบครัว                             เกิดอุบัติเหตุในขณะขับรถได้ อีกทั้งยังมีรายงานว่ายา
                             [2]
                   จากผลการวิจัยทางการแพทย์ในปัจจุบันพบว่า   นี้อาจทำาให้เห็นภาพหลอน มีอารมณ์เกรี้ยวกราด นอน
              ผลจากความเครียดและวิตกกังวลที่ต่อเนื่องจะเป็น  ไม่หลับและฝันร้ายได้  ส่วนการรักษาอาการที่เป็นผล
                                                                          [6]
              สาเหตุที่ก่อให้เกิดเป็นโรคต่าง ๆ ได้เช่นโรคปวดตึง  ต่อเนื่องจากความเครียดที่เกิดขึ้นเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่
              ในศีรษะ โรคกระเพาะอาหาร และโรคหัวใจ  โดยนัก  ได้เกิดจากเชื้อโรค แพทย์แผนปัจจุบันส่วนใหญ่จะ
                                              [3]
              วิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   รักษาโรคดังกล่าวที่อาการปลายทางด้วยยาเช่นการ
              (Harvard Medical School) ชี้ให้เห็นว่าความเครียด  ให้ยาขยายหลอดเลือดสำาหรับโรคความดันโลหิตสูง
              จะไปเพิ่มกิจกรรมของสมองที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์  และการให้วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทสำาหรับผู้

              กลัวและโกรธที่เรียกว่าอมิกดาลา (amygdala) ซึ่ง  ที่มีอาการทางสมองและประสาท โดยต้นเหตุอาจยัง
              จะส่งสัญญาณไปที่ไขกระดูกให้ผลิตเม็ดเลือดขาว  ไม่ได้รับการรักษา
                                                                                             ้
              มากขึ้น กระทบต่อหลอดเลือดทำาให้เกิดการอักเสบ     การรักษาดังกล่าวมีโอกาสที่จะเกิดโรคซำาเมื่อ
              อันจะเป็นสาเหตุของโรคหัวใจวาย หัวใจขาดเลือด   หยุดยา การศึกษาถึงกลไกการเกิดโรค อาการและการ
              และอัมพาตได้  ความเครียดยังกระทบต่อความจำา   ดำาเนินโรค วิธีการรักษา และการป้องกันอาการเครียด
                         [4]
              ภาวะอารมณ์และสมองจนพัฒนาเป็นอาการของโรค     ในศาสตร์การแพทย์แผนไทยน่าจะช่วยเติมเต็มองค์
              ต่าง ๆ ทางจิตใจและสมองได้เช่น โรคซึมเศร้า โรค  ความรู้ในการรักษาที่ไม่มีผลข้างเคียงหรือมีในระดับ
                                                           ่
              ตื่นตระหนก (panic disorder)  และโรคเครียดภาย  ตำา เนื่องจากการแพทย์แผนไทยได้รับการพัฒนามา
                                     [5]
              หลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress   ตั้งแต่โบราณกาล หลักการรักษามุ่งเน้นด้านองค์รวม
              disorder)  เป็นต้น ซึ่งทำาให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย  ซึ่งไม่คิดว่าส่วนใดส่วนหนึ่งในร่างกายทำางานได้อย่าง
                      [5]
               ่
              ตำาลง ปัจจุบันผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวมีจำานวนมาก   เป็นเอกเทศ อีกทั้งยังรักษาที่ต้นเหตุไปพร้อม ๆ กับ
              การใช้ยากล่อมประสาทเป็นทางเลือกหนึ่งที่จ่ายโดย  การรักษาอาการหรือผลข้างเคียงของอาการ และมี
              แพทย์แผนปัจจุบัน มีทั้งประเภทออกฤทธิ์แรงและ  แนวคิดการฟื้นฟูระบบการรักษาตนเองของร่างกาย

              อ่อน ยาที่รู้จักกันดีคือไดอะซีแพม (diazepam) โดย  การนำาเอาแนวคิดและหลักการของแพทย์แผนไทย
              จะออกฤทธิ์ที่สมองและระบบประสาท ทำาให้มีการ  มาใช้รักษา จึงน่าจะเป็นทางเลือกที่เป็นประโยชน์ต่อ
              เปลี่ยนแปลงสภาวะอารมณ์และจิตใจ  ยากลุ่มนี้จะ  ผู้ป่วย
                                           [6]
              ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของสมอง อารมณ์         ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาหลักทฤษฎีจาก
              และร่างกาย ทำาให้จิตใจสงบคลายความวิตกกังวล  พระคัมภีร์และรวบรวมองค์ความรู้จากประสบการณ์

              ได้ แต่เป็นการรักษาความเครียดที่อาการและมีผล  ของผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทยเพื่อศึกษาถึงกลไก
              ข้างเคียงในการใช้ยา เช่นอาจทำาให้เกิดการติดยาและ  การเกิดโรค อาการและการดำาเนินโรค วิธีการรักษา
              หากใช้เกินขนาดอาจทำาให้เสียชีวิตได้ นอกจากนี้การ  และการป้องกันในศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่นำามา

              ออกฤทธิ์กดประสาท ทำาให้ร่างกายและจิตใจไม่อยู่  ประยุกต์ใช้ในการรักษาอาการเครียด ผลที่ได้จากการ
              ในสภาพที่ตื่นตัว สายตาพร่ามัว จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อ  วิจัยนี้จะเป็นพื้นฐานและแนวทางปฏิบัติให้กับแพทย์
              การเกิดอุบัติเหตุในการทำางานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือ  แผนไทยได้ศึกษาและพิจารณาในการนำาไปประยุกต์
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108