Page 94 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 94

232 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             ให้สิ่งทดลอง และกระบวนการประเมินผล) สลากจะ  แบบสุญญากาศ (Rotary Evaporator: BUCHI,
             ถูกใส่ในซองที่มีลักษณะทึบแสงและมีการปกปิดเป็น  Thailand)
             อย่างดี                                         - กลุ่มยาหม่องพริกชนิดหลอก

                                                             ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการทายาหม่องพริกชนิด
             ก�รรักษ�                                    หลอกร่วมกับการนอนพักบนเตียง เป็นเวลา 30 นาที


                 หลังจากผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการซักประวัติและ  โดยสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวของผู้เข้าร่วม
             ตรวจร่างกายเรียบร้อยแล้ว ผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละคน  วิจัย (อุณหภูมิห้อง เสียง เตียง เสื้อสำาหรับสวมใส่ขณะ
             ถูกสุ่มเลือกการเข้ากลุ่มเพื่อให้อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง   ทายาหม่อง ท่าทาง และอื่น ๆ) จะมีลักษณะเช่นเดียว

             ผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละคนต้องรับการวัดค่าตัวชี้วัดต่าง ๆ   กับกลุ่มยาหม่องพริกทุกประการ
             ก่อนการรักษา โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที จากนั้นผู้     การเตรียมยาหลอกในการศึกษานี้ มีผู้เตรียม

             เข้าร่วมวิจัยแต่ละคนเข้ารับสิ่งทดลอง ดังนี้  วิธีการ และส่วนประกอบเช่นเดียวกันกับยาหม่องพริก
                 - กลุ่มยาหม่องพริก                      ทุกประการ ยกเว้นการใส่สารสกัดพริก
                 ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการรักษาด้วยการทายา

             หม่องพริกที่มีสารแคปไซซิน (ร้อยละ 0.025) เป็นส่วน  ตัวชี้วัดหรือตัวแปรที่ใช้ในก�รวิจัย
             ประกอบหลัก โดยทาที่บริเวณหลังส่วนบนในบริเวณที่     ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดได้รับการประเมินตัวชี้วัด
             มีอาการปวดหรือตำาแหน่งที่มีพยาธิสภาพ หลังจากนั้น  ต่าง ๆ โดยผู้ช่วยวิจัย ซึ่งผู้ช่วยวิจัยดังกล่าวจะไม่ทราบ

             ให้นอนพักบนเตียง เป็นเวลา 30 นาที ทั้งนี้ การรักษา  รายละเอียดต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมวิจัย
             ดังกล่าวถูกกระทำาเป็นจำานวน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็น     1.  ระดับความรุนแรงของอาการปวดในขณะ
             เวลา 3 สัปดาห์                              ปัจจุบัน (current pain intensity)

                 ยาหม่องพริกที่ใช้สำาหรับการศึกษาครั้งนี้      การประเมินระดับความรุนแรงของอาการ
             เตรียมโดยแพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยมีส่วน      ปวดในขณะปัจจุบันในการศึกษานี้จะใช้ Visual

             ประกอบ ได้แก่ วาสลีน (บริษัท ยูเนี่ยนซายน์ จำากัด,   Analogue Scale (VAS) ขนาด 10 เซนติเมตรในการ
             ประเทศไทย) ฮาร์ดพาราฟีน (บริษัท ยูเนี่ยนซายน์   ประเมิน โดยระดับคะแนนจะมีตั้งแต่ 0 ถึง 10 และ
             จำากัด ประเทศไทย) และ บีแว๊ค (บริษัท ยูเนี่ยนซายน์   บริเวณด้านซ้ายสุดของสเกลจะระบุว่า “ไม่มีอาการ

             จำากัด ประเทศไทย) ในอัตราส่วน 2:1:1 โดยนำาสาร  ปวดที่กล้ามเนื้อเลย’’ ซึ่งมีคะแนนเท่ากับ 0 และด้าน
             ทั้ง 3 ตัวมาละลายที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส จน  ขวาสุดของสเกลระบุว่า “มีอาการปวดที่กล้ามเนื้อมาก

             เป็นสารละลายใส จากนั้นเติมสารสกัดพริกผสมให้  ที่สุดเท่าที่เคยมี’’ ซึ่งมีคะแนนเท่ากับ 10
             เข้ากัน เทใส่ภาชนะบรรจุรอให้เย็นแล้วปิดฝา การ      การประเมินโดยใช้ Visual Analogue Scale
             เตรียมสารสกัดพริก เตรียมได้จากการบดหยาบ พริก  (VAS) พบว่าเป็นวิธีการที่มีความน่าเชื่อถือสูงมาก (r

             ชี้ฟ้าแห้ง และนำามาสกัดด้วยแอลกอฮอล์ 95% เป็น  = 0.99)  อีกทั้งยังความเที่ยงสูงเช่นเดียวกัน [18]
                                                              [17]
                                                 ้
             เวลา 7 วัน จากนั้นกรองเฉพาะแต่ส่วนที่เป็นนำา นำา     2.  ระดับขีดเริ่มของระดับอาการปวด (Pres-
             มาทำาการละเหยแอลกอฮอล์ออกโดยใช้เครื่องระเหย  sure pain threshold)
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99