Page 92 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 92
230 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
รับความนิยมมากในประเทศไทย [11] ประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาหม่องพริกต่อระดับ
พริก ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum annuum L. ความปวดระดับขีดเริ่มของการกดเจ็บ และองศาการ
Capsicum frutescens L. จัดอยู่ในวงศ์ Solana- เคลื่อนไหวของการก้มคอในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง
ceae เป็นพืชที่นิยมปลูกในเขตร้อนที่มีอากาศอบอุ่น ส่วนจากกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด
และร้อน เช่น แอฟริกา อินเดีย อเมริกาเขตร้อน ญี่ปุ่น
และไทย พริกจัดเป็นเครื่องปรุงที่มีรสชาติเผ็ดร้อน ระเบียบวิธีศึกษ�
เป็นที่นิยมในประเทศไทย ถึงแม้พริกมักจะถูกนำา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบแบบ
[12]
มาเป็นเครื่องปรุงรสและนำามาประกอบอาหาร แต่ใน สุ่มโดยมีกลุ่มควบคุม (Randomized control trial)
ประเทศไทย พริกยังเป็นพืชที่มีการนำามาใช้เป็นยาทา แบ่งผู้เข้าร่วมวิจัยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง รับการ
ภายนอกมาอย่างยาวนาน เพื่อแก้เคล็ดขัดยอก ลด รักษาด้วยการทายาหม่องพริก และกลุ่มควบคุม รับ
อาการปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ ยังมี การรักษาด้วยการทายาหม่องพริกชนิดหลอก ระยะ
[11]
การนำามาใช้ในการช่วยทำาให้เจริญอาหาร ช่วยระบบ เวลาการทดลองในแต่ละกลุ่ม คือ 3 สัปดาห์ แต่ละ
ย่อยอาหารให้ดีขึ้น แก้หวัด ขับลม และช่วยให้การไหล กลุ่มได้รับสิ่งทดลอง 30 นาทีต่อครั้ง เป็นระยะเวลา
เวียนของโลหิตดีขึ้น [13] 3 ครั้งต่อสัปดาห์ การศึกษานี้เป็นการศึกษาที่มีการ
สารสำาคัญในพริกที่ออกฤทธิ์เพื่อลดอาการ ปกปิดสองฝ่าย (double-blinded) กล่าวคือ 1) ปกปิด
ปวด คือสารกลุ่มแคปไซซินอยด์ (capsaicinoids): ผู้ประเมินตัวแปร ผู้ประเมินตัวแปรจะไม่ทราบว่า
(0.05–1.5%) ประกอบด้วยสารหลักคือ แคปไซซิน ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ตนประเมินนั้นอยู่ในกลุ่มใด และ 2)
(capsaicin) 70% ไดไฮโดรแคปไซซิน (dihydro- ปกปิดผู้เข้าร่วมวิจัย ผู้เข้าร่วมวิจัยจะไม่ทราบว่าตน
capsaicin) 22% และคาโรทีนอยด์ (carotenoids) ได้รับการรักษาด้วยยาหม่องพริก หรือยาหม่องพริก
8% สารแคปไซซินมีโครงสร้างโมเลกุลคือ C H NO ชนิดหลอก ดำาเนินการศึกษาที่อาคารพรีคลินิก (M3)
18 27 3
และจุดเดือด 210–220 องศาเซลเซียส สารแคปไซซิน สำานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า
ที่พบส่วนใหญ่ในพริกจะอยู่บริเวณเยื่อแกนกลางที่ หลวง จังหวัดเชียงราย
เป็นสีขาวหรือที่เรียกว่ารก (placenta) ซึ่งเป็นสารที่ การศึกษานี้ผ่านการรับรองด้านจริยธรรม
ให้ความเผ็ดในพริก ในบัญชีจากยาสมุนไพรใน จากคณะกรรมการจริยธรรมงานวิจัยในมนุษย์
[14]
บัญชียาหลักแห่งชาติได้กำาหนดให้มีการใช้ capsaicin มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เลขที่ REH-61021
0.025% หรือ 0.075% เพื่อใช้เป็นยาทาเฉพาะที่ในการ
ลดอาการปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ [15] ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง
แม้ว่าการรักษาด้วยการทายาหม่องที่มีส่วนผสม ผู้เข้าร่วมวิจัย ที่มีอาการปวดบ่าและหลังส่วนบน
ของแคปไซซินในทางปฏิบัติจะให้ผลดีต่อผู้ป่วยที่มี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ
อาการปวดกล้ามเนื้อต่าง ๆ แต่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ และพังผืด จะได้รับการซักประวัติและตรวจร่างกาย
ที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มารับรองหรือพิสูจน์ ก่อนรับเข้าร่วมการวิจัย ผู้เข้าร่วมวิจัย มีอายุระหว่าง
ประสิทธิผลยังมีน้อย ดังนั้น การวิจัยจึงทำาการศึกษา 18–40 ปี ไม่จำากัดเพศ มีเกณฑ์การคัดเข้าและเกณฑ์