Page 144 - journal-14-proceeding
P. 144
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60G0037 ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัด
จากเงาะพันธุสีชมพูในหลอดทดลอง
1
1
1
1
1
รัตติกาล รักแกว , วรัญู สิริศาสตรกุล , ชุมศิลป วงษนิกร , ธนากร ถาวรอภิชาติ , สุฑามาศ กาณจนวงศวณิช ,
1
รัตติญา บุญใบ , กรวินทวิชญ บุญพิสุทธินันท 1
1 วิทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
หลักการและเหตุผล ในปจจุบันเครื่องสําอางเปนสิ่งหนึ่งที่มีความจําเปน เพราะในปจจุบันผูคนสวนมากให
ความสําคัญกับเรื่องความสวยความงาม เนื่องจากคนในปจจุบันหันมาสนใจผลิตภัณฑเครื่องสําอางที่มีสวนผสม
ของธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งโดยสวนมากมักจะทําการศึกษาฤทธิ์ตานออกซิเดชันและยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสเพื่อ
ประเมินถึงความเปนไปไดของสารสกัดที่มาจากธรรมชาติเพื่อพัฒนาไปเปนผลิตภัณฑเครื่องสําอางเพื่อผิวขาว
และชะลอวัย เงาะสีชมพูเปนพันธุเงาะที่หาไดยากเปนพืชใกลสูญพันธและพบไดที่จังหวัดจันทบุรีเทานั้น
เนื่องจากไมเปนที่นิยมรับประทานและไมมีชาวสวนปลูกเพราะมีราคาต่ํา นอกจากนี้ยังไมมีงานวิจัยดานฤทธิ์
ทางชีวภาพที่เกี่ยวของกับเครื่องสําอางมากอน ดังนั้นทางคณะผูวิจัยจึงจัดทําโครงงานวิจัยนี้เพื่อหาฤทธิ์ตาน
อนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากเงาะสีชมพูเพื่อประเมินความเปนไปไดที่จะนํา
สารสกัดจากเงาะสีชมพูมาใชเปนวัตถุดิบทางเครื่องสําอาง
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากเงาะสีชมพู
สําหรับประยุกตใชเปนวัตถุดิบทางเครื่องสําอาง
วิธีดําเนินการ ในงานวิจัยนี้เริ่มตนไดทําการเตรียมและสกัดสวนตางๆของเงาะพันธสีชมพู ดวยวิธีการ Soxhlet
extraction กับเอทิลแอลกอฮอล วิธีการ Maceration กับเอทิลแอลกอฮอล และวิธีการดวยวิธีการตมดวยน้ํา
กลั่น จากนั้นนําสารสกัดที่ไดมาทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระหรือฤทธิ์ตานปฏิกิริยาออกซิเดชันดวยวิธี DPPH
(1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl) และฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนสดวยวิธี Modified dopachrome จากนั้น
นํามาคํานวณคารอยละของการตานมูลอิสระและการยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนส
ผลการศึกษา จากการศึกษาพบวาสารสกัดจากเงาะพันธุสีชมพูทั้งหมดมีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ (SC ) จาก
50
เปลือกผลแกของเงาะพันธุสีชมพู โดยใหฤทธิ์สูงที่สุด (SC เทากับ 0.006 ± 0.00 mg/ml) ซึ่งมากกวาสาร
50
มาตรฐาน L-ascorbic acid ประมาณ 5 เทา (p< 0.05) ในขณะที่สารสกัดจากการใช Soxhlet จากเปลือกผล
ออนของเงาะพันธุสีชมพูใหฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสสูงที่สุด (IC เทากับ 0.04 ± 0.02 mg/ml.) ซึ่ง
50
เทียบเทาสารมาตรฐานกรดโคจิก (p< 0.05) และนําสารสกัดจากเงาะพันธุสีชมพูที่ไดมาพัฒนาเปนผลิตภัณฑ
เครื่องสําอาง
ขอสรุป จากการศึกษาพบวาสารสกัดของเปลือกเงาะมีฤทธิ์ตานสารอนุมูลอิสระและมีฤทธิ์ตานเอมไซม
ไทโรซิเนส ซึ่งสามารถนําไปตอยอดเปนวัตถุดิบสําหรับผลิตภัณฑเครื่องสําอางได ทั้งนี้เปนการอนุรักษเงาะพันธุ
สีชมพู เปนการเพิ่มมูลคาและเพิ่มชองทางรายไดใหกับชาวสวนที่ปลูกเงาะพันธุสีชมพู
142