Page 139 - journal-14-proceeding
P. 139

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                   PP60G0054 การศึกษาการดูแลสุขภาพและการรักษาอาการเจ็บปวย
                                   ของประชาชนโดยหมอพื้นบาน



               สุระพล นามวงค และคณะ
               สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเมืองจันทร จังหวัดศรีสะเกษ


               หลักการและเหตุผล ภูมิปญญาการแพทยพื้นบานไทยเปนภูมิปญญาของชาวบานที่มีคูมากับคนไทยตั้งแต
               ดั้งเดิมกอนสมัยสุโขทัย  เปนประสบการณตอสูดิ้นรนเพื่อการมีชีวิตรอดและดูแลรักษาตนเอง โดยจากการ
               สังเกต ทดลองใช เก็บสะสมประสบการณการดูแลสุขภาพตนเอง จากคนรุนกอนสูคนรุนหลังอยางตอเนื่อง
               กลายเปนรากฐานการดูแลสุขภาพดวยตนเองที่เหมาะสมกับบริบท รูปแบบการรักษามีทั้งการใชยาสมุนไพร

               การนวด ตลอดจนการรักษาทางจิต โดยใชพิธีกรรมหรือคาถาตางๆซึ่งสามารถตอบสนองความตองการของ
               ประชาชนไดเปนอยางดี จึงไดถูกพัฒนา และสั่งสมเปนประสบการณสืบทอดตอเนื่องกันมา

               วัตถุประสงค  1. เพื่อศึกษาอาการเจ็บปวยและโรคที่หมอพื้นบานในอําเภอเมืองจันทร ใหการรักษาการ

               เจ็บปวยของประชาชน 2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการดํารงอยูของหมอพื้นบานในอําเภอเมืองจันทร จังหวัด
               ศรีสะเกษ 3.เพื่อศึกษาการถายทอดภูมิปญญาหมอพื้นบานในอําเภอเมืองจันทร จังหวัดศรีสะเกษ

               วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนาและเปนการศึกษาเฉพาะกรณี   โดยศึกษาจากหมอ

               พื้นบานทั้งหมดในพื้นที่อําเภอเมืองจันทร จํานวน  35  คน

               ผลการศึกษา ผลการวิจัยพบวา หมอพื้นบาน ในพื้นที่อําเภอเมืองจันทร ใหการรักษาการเจ็บปวยของ
               ประชาชน โดยการใชสมุนไพรที่มีในทองถิ่นรวมกับพิธีกรรม ตามความเชื่อของคนในทองถิ่น สําหรับปจจัยที่มี
               ผลตอการดํารงอยูของหมอพื้นบานเนื่องจาก หมอพื้นบานมีความเขาใจในวิถีชีวิต สังคมวัฒนาธรรมและความ

               เปนอยูของคนในชุมชน  ขั้นตอนในการรักษาไมยุงยาก การถายทอดภูมิปญญาหมอพื้นบานในอําเภอเมือง
               จันทร จังหวัดศรีสะเกษ เปนการการถายทอดความรูในลักษณะเครือญาติ จากรุนปู ยา  ตา ยาย มาสูรุนลูกรุน
               หลาน และมีบางที่ถายทอดใหกับลูกศิษยที่ไมใชสายเลือดโดยตรง ซึ่งในการถายทอดและเรียนรูในแตละศาสตร

               จะใชเวลาที่แตกตางกันไป

               ขอสรุป การแพทยพื้นบานไดผูกพันกับวิถีชีวิตและเปนที่พึ่งในยามเจ็บปวยของคนอําเภอเมืองจันทรมา
               ยาวนาน จนกลายเปนวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพ จึงทําใหหมอพื้นบานยังดํารงอยูไดมาจนถึงทุกวันนี้ จึงควร

               สงเสริมและอนุรักษการแพทยพื้นบานใหคงอยูในวิถีชีวิตของประชาชนจังหวัดศรีสะเกษสืบไป














                                                         137
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144