Page 141 - journal-14-proceeding
P. 141

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    PP60GR0077 การพิสูจนเอกลักษณทางเคมีของตนโดไมรูลมดวย HPLC diode

                                    array


                             1
                                               2
               หทัยชนก ปนดิษฐ , สุเมธ คงเกียรติไพบูรย , ผศ.วีระศักดิ์ รุงเรืองวงศ 1
               1 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
               2
                ศูนยวิจัยคนควาและพัฒนายา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนยรังสิต)

               หลักการและเหตุผล  โดไมรูลม (Elephantopus scaber L.) วงศ Asteraceae เปนพืชสมุนไพรพื้นบานที่ถูก
               นํามาใชเปนระยะเวลายาวนาน เปนที่รูจักอยางแพรหลายโดยเฉพาะในหมูชาวเขา โดยนําพืชทั้งตนมาตมน้ํา

               เพื่อใชดื่มเปนยาบํารุงกําลัง บํารุงหัวใจ บํารุงกําหนัด ยาฝาดสมาน รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ฆาเชื้อ ขับ
               ระดู น้ําเหลืองเสีย เปนตน จากการพิสูจนฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบวาสารสกัดจากทั้งตน มีฤทธิ์ลดไข กระตุน
               การทํางานของมดลูก ลดระดับความดันโลหิตและอัตราการเตนของหัวใจของหนูทดลอง มีฤทธิ์ฆาเชื้อทั้งแกรม
               บวกและลบ ลดเอนไซมที่ทําใหเกิดความเปนพิษตอเซลลตับและลดความเปนแผลของเซลลตับ นอกจากนี้ยัง

               พบวาสามารถตานมะเร็งไดอีกดวย นับเปนพืชสมุนไพรที่มีความนาสนใจที่จะสามารถนํามาพัฒนาในรูป
               ผลิตภัณฑ เพื่อใชในการรักษาโรคโดยเฉพาะโรคมะเร็งที่นับเปนภัยคุกคามแกมนุษยในปจจุบัน ในประเทศไทย
               สามารถพบตนโดไมรูลมที่มีลักษณะภายนอกที่แตกตางกันอยางชัดเจน โดยความยาวของใบ ที่พบไดทั้งใบสั้น
               และใบยาว แตอยางไรก็ตามยังไมมีการศึกษาความแตกตางทางดานองคประกอบทางเคมี ลักษณะทาง

               พันธุกรรม และฤทธิ์ทางชีวภาพอยางชัดเจน ซึ่งหาความแตกตางของเอกลักษณทางเคมีนับเปนวิธีที่สามารถทํา
               ไดงายและเร็วที่สุด เพื่อใชในการระบุชนิดของพืช

               วัตถุประสงค  เพื่อพิสูจนเอกลักษณทางเคมีของตนโดไมรูลมที่มีลักษณะความยาวของใบที่แตกตางกัน โดยใช

               HPLC diode array

               วิธีการดําเนินงาน เก็บตัวอยางพืชจากหลายแหลงในจังหวัดเชียงใหมที่มีลักษณะความยาวของใบที่แตกตาง
               กันชัดเจน จากนั้นนํามาสกัดดวยวิธีการตมน้ํา (Decoction)  และนําสารสกัดที่ไดมาทําการเปรียบเทียบ

               เอกลักษณทางเคมีโดยใช HPLC diode array  เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ HPLC chemical
               fingerprints


               ผลการศึกษา ไมมีความแตกตางกันของเอกลักษณทางเคมีของตนโดไมรูลมที่มีความยาวของใบที่แตกตางกัน

               ขอสรุป โดไมรูลมที่มีความยาวของใบตางกัน มีเอกลักษณทางเคมีที่เหมือนกัน ซึ่งอาจทําใหมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่
               เหมือนกัน จึงสามารถนําไปใชประโยชนไดเชนเดียวกัน ทั้งนี้การศึกษาความแตกตางของปริมาณสารออกฤทธิ์
               และฤทธิ์ทางชีวภาพ รวมทั้งความแตกตางของลักษณะทางพันธุกรรมยังตองมีการศึกษาตอไป











                                                         139
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146