Page 142 - journal-14-proceeding
P. 142

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                   PP60G0041 ตําราแผนนวด: การถายทอดและวิเคราะหความเชื่อมโยงตําราราษฎร

                                   ตําราหลวง

               ธวัชชัย นาใจคง
               งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลนาแหว จังหวัดเลย

               หลักการและเหตุผล ตําราแผนนวด เปนเอกสารลายลักษณที่บันทึกแบบแผน จุด และเสนที่ใชในการนวดใน
               สมัยโบราณ กระจายอยูในภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย สวนมากพบในภาคกลาง นิยมบันทึกในสมุดไทยขาว

               ดวยหมึกดํา แสดงภาพจุด และขอความอธิบายที่เกี่ยวของ ตําราแผนนวดที่พิพิธภัณฑ กม. 61  ตําบลตนยวน
               อําเภอพนม จังหวัดสุราษฎรธานี เปนหนึ่งในตําราแผนนวดที่หลับใหลอยูในชุมชน ถูกบันทึกไวในหนังสือบุด

               ขาว ดวยภาษาไทยถิ่นใต ยังไมไดรับการปริวรรตถายถอดเปนภาษาปจจุบันที่เขาใจงาย และวิเคราะหถึงองค
               ความรู และความเชื่อมโยงในกับตําราแผนนวดในสมัยเดียวกัน


               วัตถุประสงค เพื่อปริวรรตตําราแผนนวดที่สํารวจพบ ณ พิพิธภัณฑ กม. 61  ใหเปนภาษาไทยปจจุบัน

               และศึกษาความเชื่อมโยงระหวางตําราแผนนวดในยุคเดียวกัน

               วิธีดําเนินการ :  วิจัยนี้เปนวิจัยเชิงคุณภาพแบบ Case  study  approach  ดําเนินการโดยใชวิธีการถายถอด

               ตามแบบแผนการปริวรรตเอกสารโบราณ เทียบเคียงเนื้อหาที่ปรากฏ และวิเคราะหความเชื่อมโยงของตํารา
               จากเอกสารทุติยภูมิทางดานประวัติศาสตรและการแพทยแผนไทย

               ผลการศึกษา  จากการศึกษาพบวาตําราแผนนวดที่สํารวจพบ เจาของปจจุบันคือนายรังสรรค รักบํารุง มี

               ทั้งหมด 5 หนาสมุดไทย ลักษณะเปนสมุดไทยขาว (บุดขาว) ตัวเลมไมสมบูรณ บันทึกดวยหมึกสีดํา อักขระวิธี
               เขียนตามสําเนียงภาษาพูด โดยใชคําภาษาถิ่นใต เมื่อเทียบลักษณะอักษร พบวาสามารถอนุมานอายุเอกสารอยู

               ในชวงพุทธศักราช 2380 – 2459 ตรงกับตรงรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เรื่อยไปถึงชวงปลายรัชสมัย
               สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื้อหาในสมุดไทยกลาวถึงจุดนวดรักษาอาการทั้งหมด 103 จุด โดยอาการ

               สวนใหญเปนโรคทางเสนและลมตามคัมภีรชวดาร เชน แกปตคาด อัมพฤกษ แกพุทธยักษ ราทยักษ เปนตน
               ซึ่งจุดนวดแกอาการที่พบถี่มากที่สุดคือจุดนวดแกอาการเกี่ยวกับลม เสน และปตคาด รองลงมาคือจุดนวดแก
               ปวดหัว จุดนวดแกลมมหาสดมภ จุดนวดแกอาการนอนไมหลับ และจุดนวดแกกรอน ตามลําดับ นอกจากนี้

               เมื่อนําจุดนวดไปเปรียบเทียบกับตําราแผนนวดฉบับหลวงจํานวน 3  ฉบับคือ คือ ศิลาจารึกในวัดพระเชตุพน
               วิมลมังคลารามฯ คัมภีรแผนนวด ในตําราเวชศาสตรฉบับหลวง และจารึกวัดราชโอรสาราม พบจุดนวดที่

               ใกลเคียงกันหรือเปนจุดเดียวกันแตระบุอาการแกไมเหมือนกันทั้งหมด 37 จุด และมี 3 จุดที่ระบุรายละเอียด
               ตรงกัน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงของตําราฉบับราษฎร และตําราฉบับหลวง ที่มีการผสมผสานกลมกลืน
               กันจนตกผลึกกลายเปนภูมิปญญาเฉพาะทองถิ่น


               ขอสรุป จากการศึกษาในครั้งนี้ทําใหเขาใจถึงองคความรูที่บันทึกไวในตําราแผนนวด รวมทั้งทําใหเห็นถึงความ
               เชื่อมโยงสัมพันธกันของตําราจากสวนกลางและทองถิ่น และเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาดานการแพทย

               แผนไทยในการพัฒนาองคความรูตอไป


                                                         140
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147